Page 86 - การให้รหัสโรค
P. 86

75




                      ร่วมกับดรรชนีค้นหาโรคทั่วไปด้วย สำหรับตารางยาและสารเคมีหรือส่วนที่ 3 ตารางยาและสารเคมี
                      (Table of drug and chemical) จะใช้ในกรณีผู้ป่วยที่ได้รับพิษจากยาและสารเคมี ดังภาพที่ 4.10

                                                              ผู้ป่วย



                                 บาดเจ็บ                                                 โรคทั่วไป



                            ดรรชนีค้นหาโรคทั่วไป       ดรรชนีค้นหารหัสสาเหตุ         ดรรชนีค้นหาโรคทั่วไป



                                                 ภาพที่ 4.10 การใช้ดรรชนีในการให้รหัสโรค

                      โดยทั้ง 3 ส่วนของดรรชนีค้นหารหัสโรค มีรายละเอียดดังต่อไปนี้


                      ส่วนที่ 1 (Section 1) ดรรชนีค้นหารหัสโรคทั่วไปและการบาดเจ็บ
                             เป็นดรรชนีค้นหาโรคทั่วไปและการบาดเจ็บ (Alphabetical Index of diseases and
                                                                           ั
                                                                                                   ั
                      natural of injury) ซึ่งจะเรียงคำหลักตามลำดับอกษรภาษาองกฤษในพจนานุกรม ตั้งแต่อกษร A
                                                                ั
                      จนถึง Z
                             ซึ่งส่วนที่ 1  มีองค์ประกอบย่อย ดังนี้
                             คำหลัก  หมายถึง คำที่บอกว่าผู้ป่วยเป็นโรคอะไร ดรรชนีค้นหาโรคทั่วไปจะนำเอาคำหลัก
                      ของชื่อโรคต่างๆ มาเรียงตามตัวอักษร ตั้งแต่ A จนถึง Z พิมพ์ตัวอักษรหนา

                             คำขยาย หมายถึง คำที่แสดงรายละเอียดของผู้ป่วยตามลักษณะต่าง ๆ กัน เป็นชนิดย่อยของ
                      โรคภายใต้คำหลักแต่ละคำ (นำหน้าด้วยเครื่องหมาย - )
                                                                            ื่
                             คำชี้แนะ หมายถึง คำแนะนำให้เปลี่ยนคำค้นหาเป็นคำอน สำหรับเปิดดรรชนีใหม่อีกครั้ง คำ
                      ชี้แนะ ได้แก่ คำว่า see, see also หรือ see condition
                             รหัสที่อาจเป็นไปได้ หมายถึง รหัส ICD-10 ที่อยู่คู่กับคำขยายแต่ละบรรทัด ดังนั้นจะต้อง
                                       ี
                                            ิ่
                      ตรวจสอบรายละเอยดเพมเติมจากหนังสือเล่ม 1 ด้วยเสมอ เพราะบางครั้งรหัสที่ได้จากดรรชนีไม่
                      เหมาะสมกบผู้ป่วยรายนั้น ให้ใช้รหัสจากหนังสือเล่ม 1 เป็นหลัก ดังตัวอย่างจากหนังสือเล่มที่ 2 ฉบับ
                               ั
                      ปี 2016 หน้า 46















                         HM 4633 การให้รหัสโรค ดร.อมรรัตน์ ลือนาม คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91