Page 14 - เล่มที่ 6 น้าของฝางกระเจี๊ยบแดง
P. 14

10


                   เอกสารประกอบการเรียน  เล่มที่  6   น้้าของฝางกระเจี๊ยบแดง







                                                          กระเจี๊ยบแดง

















                                                   ภาพที่  3  กระเจี๊ยบแดง

                                          ที่มา :  สุทธภา   อุดแก้ว


                               กระเจี๊ยบแดง ชื่อสามัญ : Jamaican Sorel, Roselle ชื่อวิทยาศาสตร์ :
                      Hibiscus sabdariffa L. มีถิ่นก้าเนิดในประเทศซูดาน และแถบประทศในทวีปแอฟริกา


                      มีชื่ออื่นๆ เช่น กระเจี๊ยบ กระเจี๊ยบแดง กระเจี๊ยบเปรี้ยว มีลักษณะล้าต้นเป็นทรงพุ่ม
                      สูงประมาณ 1-2.5 เมตร ขนาดล้าต้นประมาณ 1-2 ซม. แตกกิ่งก้านตั้งแต่โคนต้น ต้นอ่อน

                      มีสีเขียว เมื่อแก่ ล้าต้น และกิ่งมีสีแดงม่วง เปลือกล้าต้นบางเรียบ  ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียง

                      สลับตามความสูงของกิ่ง มีลักษณะคล้ายปลายหอก ดอกกระเจี๊ยบแดงออกเป็นดอกเดี่ยว

                      ดอกแทงออกตามซอกใบตั้งแต่โคนกิ่งถึงปลายกิ่ง ดอกมีก้านดอกสั้น สีแดงม่วง

                      ดอกมีกลีบเลี้ยง ประมาณ 5 กลีบ หุ้มดอกบนสุด มีขนาดใหญ่ มีลักษณะอวบหนา

                      มีสีแดงเข้มหุ้มดอก และกลีบรองดอก  มีสีม่วงอมแดง  ผลอ่อนเป็นสีเขียว เมื่อดอก

                      กระเจี๊ยบแดงเจริญเต็มที่  ผลนั้นจะมีปลายแหลมเป็นรูปรี  ส่วนผลแก่จะแตกออกเป็น

                      5 แฉก เมล็ดสีน้้าตาล ตลอดจนตัวผลจะมีกลีบเลี้ยงสีแดงหนาชุ่มน้้าหุ้มผลไว้  กระเจี๊ยบ

                      เป็นพืชที่ชอบอากาศร้อน ทนต่อสภาพแห้งแล้งได้ดี ไม่ชอบน้้าท่วมขัง พันธุ์ที่ปลูกมีหลาย

                      พันธุ์ นิยมปลูกด้วยการเพาะเมล็ดเท่านั้น สามารถปลูกได้ทุกฤดู
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19