Page 152 - จราจร
P. 152

๑๔๕




                                 ๓.๔  หากปรากฏวาผูบังคับบัญชาในระดับตั้งแตกองบังคับการหรือเทียบเทาขึ้นไป
                 หรือตํารวจอื่น สืบสวนขอเท็จจริงจนปรากฏชัดเจน หรือตรวจตราพบวามีเจาหนาที่ตํารวจ ณ ดานตรวจ

                 จุดตรวจ หรือจุดสกัดที่ใด มีพฤติการณมิชอบดังกลาว ตาม ๓.๓ หรือจับกุมตัวได โดยลักษณะของ
                 พฤติการณเปนการกระทํารวมหลายคน และหรือเปนระยะเวลาตอเนื่องกันหลายวัน ใหผูบังคับบัญชา
                 พิจารณาทัณฑทางวินัยแกผูบังคับบัญชาที่ใกลชิดของเจาหนาที่ตํารวจที่กระทําผิดดังกลาวฐานบกพรอง

                 ละเลยไมเอาใจใสดูแลผูใตบังคับบัญชาของตนอีกสวนหนึ่งดวย
                                 ๓.๕  ใหผูบัญชาการตํารวจสอบสวนกลาง ผูบัญชาการตํารวจนครบาล ผูบัญชาการ

                 ตํารวจภูธรภาค ๑ - ๙ ผูบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน และจเรตํารวจติดตามผลการปฏิบัติ
                 และรายงานผลการปฏิบัติใหสํานักงานตํารวจแหงชาติ ทราบภายในวันที่ ๗ ของแตละเดือน
                 ในรายงานใหปรากฏดวยวาไดมอบหมายใหตรวจติดตาม และมีผลการปฏิบัติเปนอยางไร ทั้งนี้ใหปฏิบัติ

                 อยางจริงจังและตอเนื่อง
                                 การตั้งดานตรวจ จุดตรวจ จุดสกัดในงานจราจร อาศัยหลักการของการตรวจจับ

                 ความผิดตามกฎหมายจราจร มีความหมายครอบคลุมถึงเรื่องดังตอไปนี้
                                 ๑)  การตรวจจับเปนยุทธวิธีหนึ่งของการบังคับใชกฎหมาย (Law enforcement) ที่มี
                 หลักการแนชัด มีเหตุผล มิใชการลองถูก (Trial and Error) หรือปฏิบัติตามที่เคยสืบตอกันมา

                                 ๒)  การตรวจจับเปนการบังคับใชกฎหมายที่ผูปฏิบัติตองมีความรู (Knowledge)
                 ความเขาใจในเหตุผลและที่มาของการกระทํา มีการฝกอบรมอยางมืออาชีพ (Professionalism) สามารถ

                 ใชเครื่องมือในการตรวจวัดไดและมียุทธวิธี (Tactics) ในการดําเนินการที่เหมาะสมในแตละสถานการณ
                                 ๓)  การตรวจจับเปนการปฏิบัติหนาที่โดยนําเอาหลักจิตวิทยาเขามาใช เพื่อใหเกิด
                 ความสัมพันธที่ดีกับประชาชนไปพรอมกัน

                                 ๔)  การตรวจจับมีวัตถุประสงคเพื่อยับยั้งอุบัติเหตุ (Accident) ลดความเสี่ยง (Risk)
                 ลดความสูญเสีย (Loss) ของประชาชน ดังนั้น จึงมิใชการทํางานเพื่อใหไดปริมาณ (Quantity) หรือผล

                 การจับกุม แตเปนการตรวจจับที่ตองการคุณภาพ (Quality) คือ เพื่อความปลอดภัยของประชาชน
                                 โดยหลักการสําคัญในการตรวจจับความผิดจราจรควรมุงเนนความปลอดภัยมากกวา
                 ปริมาณการจับ แตในสถานการณจริง บางครั้งเจาหนาที่ตํารวจจราจรมักใหความสําคัญกับปริมาณ

                 การจับกุมมากกวา ไมคอยมีการเก็บขอมูล หรือการวิเคราะหขอมูลตอเนื่องภายหลังจากการตั้ง
                 ดานตรวจ จุดตรวจในแตละครั้งวาสามารถลดการสูญเสียหรือปองกันการเกิดอุบัติเหตุทางถนนได

                 อยางแทจริงไดอยางไรบาง
   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157