Page 153 - จราจร
P. 153

๑๔๖



              ô.ò ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤¢Í§¡ÒÃμÑ駨شμÃǨ¨ÃÒ¨Ã

                          ประเภทของการตั้งจุดตรวจตามวัตถุประสงคในงานจราจร ไดแก
                          ๑.  การกวดขันตรวจจับ (Intensive Surveillance) มีวัตถุประสงคที่จะมุงจุดสนใจไปที่

              ถนนเสนใดเสนหนึ่ง ในชวงเวลาหนึ่งอยางเขมงวด ไมใชการออกตรวจโดยทั่วไป ตัวอยางเชน ในระยะ
              เวลา ๑ - ๒ เดือน จะสงเจาหนาที่ตํารวจออกตรวจจับโดยปรากฏตัวใหประชาชนเห็น พรอมกับการตั้ง
              จุดตรวจ เพื่อตรวจจับความผิดบางประเภท เชน ขับรถเร็ว ไมสวมหมวกนิรภัย ไมคาดเข็มขัด เมาสุราฯ

              ซึ่งเปนความผิดที่สรางความสูญเสียใหชุมชนมากที่สุด ดังนั้น จึงควรจะเลือกถนนที่มีเหตุเกิดมากที่สุด
              เปนพื้นที่กวดขันจับกุม โดยอาจจะตั้งจุดตรวจที่จุดใดจุดหนึ่งบนถนนเสนนั้น ปรับจุดที่ตั้งหรือเปลี่ยน

              เวลาตั้งบาง เพื่อหลีกเลี่ยงการคาดเดาไดภายหลังจากการกวดขันจับกุมอยางหนักแลว พฤติกรรมการ
              ขับขี่ของประชาชนในถนนยานนั้นก็จะเริ่มเปลี่ยนแปลงไป แตพฤติกรรมดังกลาวอาจจะกลับมาอีก
              ถาเจาหนาที่ไมตรวจจับอยางตอเนื่อง ดังนั้นเมื่อหยุดพักการกวดขันที่จุดใดไปแลว ก็ไมควรจะเลิกไป

              อยางถาวร ยังจําเปนที่จะตองกลับมาตั้งจุดตรวจอีก เชน ทุก ๑ เดือน จะกลับมา ๒ ครั้ง จนกวาจะ
              แนใจวาจะไมมีการฝาฝนอีก

                          ๒.  การตรวจจับแบบเฉพาะเรื่อง (Specializes Surveillance) การตรวจจับแบบนี้เปน
              วิธีการที่มุงไปเพื่อการแกปญหาทีละเรื่องในครั้ง ๆ หนึ่ง ซึ่งอาจมีประสิทธิภาพมากกวาการตรวจจับ
              พรอม ๆ กันทุกเรื่องไมวาผูขับขี่ไปกระทําผิดที่ใดก็จะถูกตรวจจับเนื่องจากตองการจะพุงเปาไปยังการ

              แกปญหาเฉพาะดานที่จําเปนสูงสุดของสถานี อาทิ ผูฝาฝนสัญญาณไฟ การขับรถเร็ว การขับรถเมาสุรา
              การแซงรถผิดกฎหมาย พฤติกรรมที่กอใหเกิดอันตรายของรถบรรทุก ฯลฯ การตรวจจับแบบเฉพาะเรื่องนี้

              อาจวางกําลังเจาหนาที่กระจายไปในจุดสําคัญและใชการตั้งจุดตรวจ (Check Point) เปนกลไกหนึ่งใน
              พื้นที่ เพื่อใหประชาชนตระหนักวาเจาหนาที่ตํารวจกวดขันเอาจริงและตองปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อนึ่ง
              ในการตั้งจุดตรวจแบบนี้จะตองเตรียมเครื่องมืออุปกรณในการตรวจวัดไปดวย เชน เครื่องวัดความเมา

              เครื่องตรวจจับความเร็ว เนื่องจากไมใชการตั้งจุดตรวจทั่ว ๆ ไป การตั้งจุดตรวจแบบนี้มีเปาหมายไว
              โดยเฉพาะ คือ กดดันการกระทําความผิดประเภทนั้นอยางรุนแรง จนไมกลากระทําผิด หรือเลิกกระทํา

              ไปโดยรวดเร็ว
                          ๓.  การตั้งจุดตรวจขางทาง (Road side Checkpoints) หรือจุดตรวจกวดขันวินัยจราจร
              หรือที่เรียกกันวา “ดานลอย” มีวัตถุประสงคสําหรับตรวจใบอนุญาตขับขี่ ทะเบียนรถ อุปกรณสวนควบ

              ของรถและเอกสารประจํารถ เปนตน ขอดีของการตั้งจุดตรวจขางทาง ทําใหเจาหนาที่ตํารวจสามารถตรวจ
              รถไดเพิ่มขึ้น เพราะไมทําใหการจราจรหยุดชะงัก ชวยใหเจาหนาที่ตรวจพบรถที่มีลักษณะไมปลอดภัยได

              เปนเครื่องมือหลักในการตรวจสอบรถที่ชื่อไมตรงกับทะเบียนและรถเชา เพื่อขัดขวางกระบวนการขน
              ยาเสพติด ชวยใหเจาหนาที่สามารถตรวจสอบการใชอุปกรณเพื่อความปลอดภัย เชน ยาง ไอเสียรถยนต
              เข็มขัดนิรภัย กระจกเงา กระจกหนาและขาง ไฟสองสวางและไฟสัญญาณอุปกรณที่เกี่ยวของชวยนํา

              รถที่ไมสมบูรณออกจากทองถนน หรือสั่งไปซอมได
   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158