Page 157 - จราจร
P. 157
๑๕๐
ò) »ÃÐàÀ·¢Í§¨Ø´μÃǨ
จุดตรวจในประเทศไทยอาจจําแนกตามลักษณะการทํางาน ขนาดและจํานวน
เจาหนาที่ที่ใชได ๓ ลักษณะ เริ่มจากลักษณะที่ใชมากที่สุดบนทางหลวง คือ แบบเสนตรง ตอมา
เปนแบบที่ใชบนทางหลวงเชนกันแตมีความซับซอนมากกวา คือ แบบวงกลม และแบบสุดทาย
เปนแบบที่ใชมากที่สุดในเมืองที่มีรถติด แตกระทําไดงายมีความคลองตัวสูง คือ แบบในเมือง ทั้งนี้โดยมี
รายละเอียดของแตละประเภทดังนี้
๒.๑ จุดตรวจแบบที่ ๑ “จุดตรวจแบบเปนเสนตรง”
การตั้งจุดตรวจแบบนี้เหมาะสําหรับใชบนถนนในเมืองหรือทางหลวง ที่มีรถ
จํานวนไมหนาแนนมาก และรถอาจจะวิ่งดวยความเร็ว หากเลือกไดควรเลือกตั้งบริเวณที่มีไหลทาง
เพื่อมีพื้นที่ในการทํางานแกเจาหนาที่ หรือเลือกตั้งในพื้นที่ที่เปนทางบังคับที่รถจะตองชะลอความเร็ว
กอนมาถึงจุดนี้ เชน มีทางโคง ถนนขรุขระ มีการกอสราง หรือคอขวด ซึ่งรถไมกลาใชความเร็วสูง
อยูแลว ซึ่งจะทําใหเจาหนาที่ปลอดภัยกวาที่จะตองเรียกหยุดรถที่มีความเร็ว
ในการทํางานทุกครั้งเจาหนาที่จะตองวางปายเตือนสําหรับจุดตรวจแบบนี้
ปายเตือนนี้มีเพื่อใหสัญญาณแกผูขับขี่เตรียมตัวในการชะลอรถลงตามลําดับกอนมาถึงบริเวณที่
เรียกหยุด อาจใชปายที่มีขอความใหระวัง ขางหนามีจุดตรวจ หรือหากไมมีก็ใชกรวยยางวางเตือนเปน
ระยะๆ กอนมาถึงจุดตรวจก็ได ควรจะวางปายเตือนกอนหนาจุดตรวจออกไปประมาณ ๑๕๐ - ๒๐๐ เมตร
ซึ่งระยะที่เวนไวนี้เปนระยะที่รถซึ่งมาดวยความเร็วสูงสามารถชะลอรถลงมาไดพอดีโดยไมเปนอันตราย
หลักคิดมาจากการคํานวณระยะคิดและระยะหยุดของรถบนถนนไวเผื่อสําหรับผูขับขี่ หากไมวาง
ปายเตือนเลย จะทําใหผูขับขี่ตองหยุดรถกะทันหัน ซึ่งอาจจะเปนอันตราย อาจถูกฟองรองไว และ
ยังแสดงวาเจาหนาที่ตํารวจไมมีความรูในเรื่องความปลอดภัยดวย การตั้งจุดตรวจแบบเสนตรง
จึงควรดําเนินการดังนี้ โปรดดูภาพที่ ๑