Page 154 - จราจร
P. 154

๑๔๗




                             โดยหลักการสําคัญในการตรวจจับความผิดจราจรควรมุงเนนความปลอดภัยมากกวา
                 ปริมาณการจับ แตในสถานการณจริง บางครั้งเจาหนาที่ตํารวจจราจรมักใหความสําคัญกับปริมาณ

                 การจับกุมมากกวา สังเกตไดจากมีสถิติการจับกุม ผูกระทําความผิดตามกฎหมาย พ.ร.บ.จราจรทางบกฯ
                 หรือ พ.ร.บ.รถยนตฯ แตไมคอยมีการเก็บขอมูล หรือการวิเคราะหขอมูล ตอเนื่องภายหลังจากการตั้ง
                 ดานตรวจ จุดตรวจในแตละครั้งวาสามารถกวดขันวินัยจราจร และสามารถลดการสูญเสียหรือปองกัน

                 การเกิดอุบัติเหตุทางถนนไดอยางแทจริงไดอยางไรบาง


                 ô.ó ¡ÒÃáÊ´§μÑÇ㹡ÒÃμÃǨ¨ÑºáÅСÒÃμÃǨ¤Œ¹Ã¶

                             ñ) ¡ÒÃáÊ´§μÑǢͧตําÃǨ㹡ÒÃμÃǨ¨Ñº
                                 การแสดงตัวของตํารวจจราจรหรือทางหลวงในการตรวจจับ มักจะมีผูเขาใจวาตํารวจ

                 ควรจะแอบซุมในความมืด หลบตามเสาไฟฟาหรือตนไม หรือตั้งจุดตรวจ (Check Point) ในที่มืด
                 เพื่อดักจับผูกระทําผิดใหได มิใหมีโอกาสหลบหนี ตํารวจจึงมักจะไมคอยเอาจริงเอาจังในที่เปดเผย

                 หรือมักจะปฏิบัติตัวตามปกติเชนคนธรรมดาทั่วไปมากกวา
                                 การตรวจจับความผิดจราจรนั้น มีคําสําคัญ (Key Words) ที่ตองกระทําอยู ๓ ขอคือ

                                 • ทําตัวใหเปนที่มองเห็น (Visible)
                                 • กระตือรือรน (Active)
                                 • เปนตัวอยางที่ดี (Good Example)

                                 ทุกครั้งที่เจาหนาที่ออกทํางาน จะตองแสดงตัวใหเห็นไดชัดเจนในบริเวณที่มองเห็น
                 ไดชัด (Visible) เชน มีแสงไฟฟาสวาง มีผูผานไปมาจํานวนมาก โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสราง
                 ความตระหนักถึงความเสี่ยง (Perceived Risk) ใหแกประชาชน ซึ่งจะไดรับผลกวางขวางมากกวา

                 การตั้งจุดตรวจแบบแอบซอน สวนการตรวจจับแบบแอบซอนนั้น นาจะใชไดในกรณีดักจับผูกระทําผิด
                 และหลบหนีในบางจุดเปนกรณีพิเศษเทานั้น ไมควรนํามาใชในกรณีทั่วไป

                                 เจาหนาที่ตํารวจเมื่อปรากฏตัวบนถนนแตละครั้งจะตองแสดงตัวในการทํางานอยาง
                 กระตือรือรน (Active) กระฉับกระเฉง ไมควรอยูนิ่งดูดายใหเกิดการกระทําผิดจราจรตอหนา ในบาง
                 พื้นที่เจาหนาที่ตํารวจจราจรทํางานเฉพาะเมื่อรวมตัวกันตั้งจุดตรวจ แตเมื่อเลิกจุดตรวจแลวก็จะเดิน

                 ไปมาเหมือนประชาชนทั่วไป ปลอยใหมีการกระทําผิดตอหนา ซึ่งเปนสิ่งที่จะตองแกไขเพราะความ
                 กระตือรือรนของตํารวจทําใหตํารวจนาเชื่อถือ เปนที่เคารพยําเกรง

                                 เจาหนาที่ตํารวจควรเปนตัวอยางที่ดี (Good Example) อยูเสมอ ไมวาในเรื่องการ
                 ขับขี่ การเคารพกฎจราจร ฯลฯ แตมีตํารวจจํานวนหนึ่งละเลยกฎจราจร ไมสนใจสายตาของประชาชน
                 เพราะคิดวาประชาชนจะเขาใจเองวาเปนการปฏิบัติหนาที่ หรือเชื่อวาตํารวจสามารถทําอะไรก็ได

                 เพราะมีสิทธิพิเศษ
   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159