Page 196 - จราจร
P. 196

๑๘๙




                                   ดังนั้น เพื่อจะทําใหวัตถุประสงคของการบังคับใชกฎหมาย อันเปนการขมขูยับยั้ง
                 เปนไปอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น กระบวนการยุติธรรมของไทย จึงตองตอบสนองตอการเรง

                 การดําเนินการเกี่ยวกับคดีสําคัญๆ ที่เปนที่สะเทือนขวัญประชาชน และที่ประชาชนใหความสนใจ
                 โดยเมื่อตํารวจสามารถจับกุมผูกระทําผิดไดอยางรวดเร็วภายในเวลาไมกี่วัน ก็สามารถเรงทําสํานวน
                 สงพนักงานอัยการเพื่อยื่นฟองตอศาล ศาลก็จะไดเรงการพิจารณาและตัดสินดวยความรวดเร็ว

                 โดยใชเวลาเพียง ๑๕ วัน นับแตจับกุมผูกระทําความผิดได เปนตน ซึ่งยอมจะทําใหประชาชนไดเห็นผล
                 ของโทษที่ผูกระทําความผิดไดรับจากการกระทําความผิด และทําใหการบังคับใชกฎหมายมีประสิทธิภาพ

                 เพิ่มมากขึ้น
                             ๒.๓  การบังคับใชกฎหมายตองยึดหลักเสมอภาค

                                   การบังคับใชกฎหมายตองยึดหลักความเสมอภาค กลาวคือ จะตองบังคับใชกฎหมาย
                 กับบุคคลทุกคนโดยไมมีการเลือกปฏิบัติ แตจะตองมีการปฏิบัติดวยความเทาเทียมกัน โดยไมคํานึงถึง

                 ความแตกตางในเรื่อง ฐานะ อํานาจ ตําแหนง ศาสนา เชื้อชาติ สีผิว และอื่นๆ มิฉะนั้นจะทําใหการ
                 บังคับใชกฎหมายไมมีผลในการขมขู ยับยั้ง หรือทําใหผลในการขมขู ยับยั้งลดลง
                                   การบังคับใชกฎหมายที่ไมเทาเทียมกัน จะมีผลทําใหผลในการขมขู ยับยั้งลดลง

                 นั้นเนื่องมาจากผูที่คิดวาตนมีอภิสิทธิ์ หรือจะเปนผูที่มีสิทธิไดรับการยกเวนในการถูกจับกุมลงโทษ
                 และจะไมเกรงกลัวตอการกระทําความผิด เพราะคิดวา เมื่อทําความผิดแลวจะสามารถหลุดรอด

                 หรือไดรับการละเวนในการบังคับใชกฎหมายได นอกจากนี้การบังคับใชกฎหมายที่ไมเทาเทียมกันยังเปนการ
                 เปดชองทางใหมีขอยกเวน หรือขอแกตัวในการหลบหนีจากการดําเนินคดีลงโทษได ซึ่งจะมีผลตามมา

                 ก็คือ ทําใหคนไมเกรงกลัวการบังคับใชกฎหมาย ดั่งคํากลาวที่วา “บุคคลทุกคนมีสิทธิเทาเทียมกัน
                 ภายใตกฎหมาย ดังนั้นไมวาผูใดกระทําความผิดในลักษณะเดียวกัน จะตองไดรับโทษเชนเดียวกัน”

                 หรือกลาวอีกนัยหนึ่ง การบังคับใชกฎหมายและการลงโทษ จะตองกระทําอยางเสมอภาค และเทาเทียมกัน
                 โดยคํานึงถึง “การกระทําความผิด” มิใช “ผูกระทําความผิด”
                             ๒.๔  การบังคับใชกฎหมายจะตองมีบทลงโทษที่เหมาะสม

                                   ปจจัยที่สําคัญประการหนึ่งที่จะทําใหการบังคับใชกฎหมายมีผลในการขมขูหรือ
                 ยับยั้งหรือไมนั้น อยูที่บทโทษ ถาบทลงโทษไมรุนแรงหรือมีบทลงโทษที่เบา ก็จะทําใหผูกระทําความผิด

                 และคนทั่วไปไมเกิดความเกรงกลัว เพราะผลประโยชนที่จะไดรับจากการกระทําความผิด จะมีมากกวา
                 ผลรายที่ไดรับจากการถูกลงโทษ ถือไดวา เปนสิ่งที่คุมคาตอการเสี่ยง “การลงโทษจะตองใหเปนอัตราสวน
                 กับการกระทําความผิด” กลาวคือ โทษที่จะลงนั้น จะตองมากพอที่จะทําใหผูกระทําความผิดเกิดความ

                 รูสึกเกรงกลัวและสูญเสียเกินกวาประโยชนที่ไดรับจากการกระทําความผิด ดังนั้น การที่จะทําใหการบังคับ
                 ใชกฎหมายมีผลทําใหผูกระทําความผิดเกิดความเกรงกลัวจะตองมีบทลงโทษที่เหมาะสมกับความผิด

                 คําวา “เหมาะสม” หมายความวา โทษที่จะลงจะตองไมเบาจนเกินไป และไมหนักจนเกินไป
                 เพราะหากการบังคับใชกฎหมายมีบทลงโทษที่หนักเกินความเหมาะสม จะกอใหเกิดผลเสีย ๓ ประการ

                 คือ (จุรีรัตน ประยูรฉัตรพันธ, ๒๕๓๙: ๕๓-๕๔)
   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201