Page 201 - จราจร
P. 201

๑๙๔




                                         นี่คือความเลวรายตอสังคม ซึ่งหมายความวาประชาชนก็จะสรางกฎหมาย
              ของตัวเองขึ้นมาและในที่สุดอาจจะสงผลถึงปญหาของระบอบประชาธิปไตย ซึ่งแนนอนจะเกิดปญหา

              ความปลอดภัยบนทองถนนขึ้นดวย ถาเจาหนาที่ตํารวจเพิกเฉยดังกลาว ในหลายประเทศ หลักการ
              เรื่อง การยอมใหฝาฝนเปนศูนย (Zero Tolerance) หรือไมยอมผอนปรนแกการกระทําผิดใด ๆ เลย

              เปนสิ่งที่ไดรับผลดีอยางมากในการใชปราบปรามอาชญากรรมเล็กนอย ซึ่งก็ไดรับผลดีเชนกัน
              เมื่อนํามาใชกับงานดานการตรวจตราจับกุมความผิดจราจร



                              ò) ¡ÒèѺ¡ØÁ¼ÙŒ¡ÃÐทํา¼Ô´¡®¨ÃÒ¨Ãã¹ÅѡɳÐμ‹Ò§ æ

                                   ๒.๑  การตรวจผูขับขี่และยานพาหนะ (Driver and Vehicle checks) เมื่อ
              ยานพาหนะคันหนึ่งถูกเรียกใหหยุดริมถนน สิ่งนั้นไดสงสัญญาณใหแกผูขับขี่รถคันนั้นและผูขับขี่รถ

              คันอื่น ๆ เพื่อเตือนใหระมัดระวัง ดังนั้นเจาหนาที่ตํารวจจะตองรีบถือเอาโอกาสนี้สงสัญญาณไปยัง
              ภายนอก (Send Out) ใหมากเทาที่จะทําได โดยใหประชาชนเห็นภาพการทํางานใหมากที่สุด

              ดวยเหตุนี้จึงเปนเรื่องสําคัญที่จะตองเลือกสถานที่เรียกตรวจรถ การแสดงตัวใหเห็นไดชัดเจน และวิธีการ

              จอดรถตํารวจทํางานก็จะตองจอดใหปรากฏตอสายตาประชาชนอยางมืออาชีพ (Professional) ดวย
                                        เมื่อเจาหนาที่ตํารวจทําการตรวจรถ จะตองตรวจดูทุกสิ่งใหมากที่สุดเทาที่
              จะมากได พรอมกับตรวจวัดแอลกอฮอล (Alco Check) ตอผูขับขี่ดวย ในบางประเทศเจาหนาที่ตํารวจ

              สามารถเรียกตรวจวัดแอลกอฮอลไดโดยไมตองมีเหตุควรสงสัยมากอน และในบางประเทศเจาหนาที่

              ตํารวจตองมีเหตุพิเศษที่สงสัยวาผูขับขี่ดื่มสุรามากอนจึงจะเรียกตรวจวัดดวยเครื่องได การเรียกตรวจ
              แบบนี้แมวาบางครั้งเจาหนาที่ตํารวจเรียกตรวจแกผูขับขี่ดวยความเร็ว แตการสงสัญญาณออกมานั้น

              แสดงวาเจาหนาที่ตํารวจอาจตรวจผูขับขี่ที่ดื่มสุราไปดวย ซึ่งมีผลดีตอพฤติกรรมการขับขี่โดยรวม
                                        ๒.๑.๑  การตั้งจุดตรวจประจําที่ (Stationary Check Point) การตั้ง

              จุดตรวจประจําที่หรืออยูกับที่ เปนวิธีการตั้งจุดตรวจพื้นฐานที่ใชกันมากที่สุดทั่วโลก มีขอดีจํานวนมาก
              แตก็มีขอเสียดวยเชนกัน

                                        ขอดี คือ
                                         • ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ (safe) ควรหาสถานที่ซึ่งปลอดภัยตอเจาหนาที่ตํารวจ

              และประชาชนในการตั้งจุดตรวจ
                                         • »ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾  (Effective) เนื่องจากงายที่จะตรวจผูขับขี่หรือ

              รถจํานวนมาก
                                         • »‡Í§¡Ñ¹¡ÒáÃзíÒ¼Ô´ (Preventive) เพราะการตรวจทุกครั้งสามารถ

              เปนที่เห็นได และประชาชนที่ใชถนนเห็นเปนจํานวนมาก หรือผูขับขี่จํานวนมากจึงไดรับสัญญาณเตือน
              (Warning Signals) จากผูขับขี่อื่น ๆ ที่มาบอก ซึ่งไดชวยใหทองถนนลดความตึงเครียดและพฤติกรรม

              ขับขี่ที่ไมดีลงไป
   196   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206