Page 202 - จราจร
P. 202

๑๙๕




                                            • ÍØ»¡Ã³ (Equipment) ในการตั้งจุดตรวจสามารถจะใชอุปกรณตาง ๆ
                 เชน เครื่องชั่งนํ้าหนัก เครื่องตรวจหามลอ (Brake Tester) ฯลฯ ได

                                            • ÁͧàËç¹ä´Œ (Visible) การมองเห็นไดเปนสิ่งที่ดี เพราะไมมีใครปฏิเสธ
                 เมื่อผานไปมาไดวาไมมีเจาหนาที่ตํารวจอยูที่นั่น
                                            • ¡ÃÐμ×ÍÃ×ÍÃŒ¹ (Active) เปนการแสดงใหประชาชนและสาธารณะ

                 เห็นวาเจาหนาที่ตํารวจกําลังทํางานอยางกระตือรือรน และมีผลดีในเชิงปองกันการกระทําผิด
                                            • ÍíÒ¹Ò¨ (Power) บางครั้งเปนการดีที่เจาหนาที่ตํารวจก็แสดงให

                 เห็นวามีพลัง (Showing their Teeth)
                                            การตั้งจุดตรวจยังมีขอดีในแงการควบคุมการจราจรใหปฏิบัติตามกฎหมาย

                 ในเรื่องตาง ๆ ไดแก การตรวจจับผูขับขี่ที่ใชความเร็วสูง การตรวจผูขับขี่ใหหยุดรถที่เสนหยุดและดูแล
                 พฤติกรรมการขับขี่ที่สัญญาณไฟ เปนตน

                                            ดังนั้นถาหากผูใชถนนกระทําผิดกฎจราจรก็จะตองถูกเรียกหยุดรถทันที
                 ที่จุดตรวจ ถูกออกใบสั่ง หรือจัดการตามกฎหมายโดยทันที
                                            ขอเสีย คือ

                                            • ¤Ò´¡Òóä´ŒÅ‹Ç§Ë¹ŒÒ (Predictable) ประชาชนสามารถรูวาจะมีการ
                 ตั้งจุดตรวจ และไมแสดงพฤติกรรมที่ไมดีเมื่อขับรถผานจุดตรวจหรือเลี่ยงไปใชถนนเสนอื่น

                                            • ¡ÒÃÍÂÙ‹»ÃШíÒ·Õè (Stationary) ถามีการตั้งจุดตรวจขนาดใหญ แนนอน
                 จะตองขาดความยืดหยุน (Flexible)

                                            ๒.๑.๒  การตรวจจับความผิดจราจรเคลื่อนที่  (Mobile Traffic
                 Surveillance) คําถามที่วาควรจะเลือกใชวิธีตรวจจับความผิดจราจรแบบจอดรถอยูประจําที่หรือแบบ

                 เคลื่อนที่ เปนคําถามซึ่งมีการถกเถียงกันอยางมาก จากการศึกษาจํานวนหนึ่งปรากฏวาการปลอยรถ
                 สายตรวจออกทํางานแบบใหจอดอยูประจําที่ (Stationary Vehicle) มีผลโดยตรงทันทีตอผูใชถนน
                 มากกวา เพราะสามารถมองเห็นโดยผูขับขี่จํานวนมากกวา อยางไรก็ตามก็มักจะตองจัดรถตํารวจอีก

                 คันหนึ่งใหจอดหางออกจากจุดแรกออกไปดวย เพราะผูขับขี่สวนมากเมื่อเห็นเจาหนาที่ตํารวจจอดรถ
                 ประจําที่อยูริมถนนแลว ก็อาจจะเพิ่มความเร็วเมื่อผานพนมาอีกครั้งเพราะคิดวาจะไมมีเจาหนาที่ตํารวจ

                 อีกแลว จึงเปนโอกาสดีที่จะขับรถเร็วไดทางหนึ่งที่จะแกปญหานี้ไดก็คือ การเพิ่มกําลังเจาหนาที่ตํารวจ
                 ประจําที่ (Stationary Units) เปนสองจุดหรือมากกวาโดยวางกําลังหางจากกันไมมากนัก การวางกําลัง
                 แบบนี้มีผลตอความยําเกรง (Deterrence) เจาหนาที่ตํารวจ ๒ ลักษณะ

                                            • ประการแรก คือ การเพิ่มรถตํารวจใหมีมากขึ้นนี้สามารถสรางการรับรู
                 การบังคับใชกฎหมายที่มีมากขึ้น

                                            • ประการที่สอง คือ การเพิ่มรถตํารวจสามารถสรางความคาดหมายถึง
                 การพบปะเจาหนาที่ตํารวจในแบบใหม และสรางความไมแนใจวาการวางรถตํารวจจะมีตอไปอีก

                 ตามแนวถนนหรือไม
   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206   207