Page 204 - จราจร
P. 204

๑๙๗




                 ในป ๒๕๓๘ ลาวและเมียนมาเปนสมาชิกอาเซียนในป ๒๕๔๐ และกัมพูชาเขาเปนสมาชิกอาเซียน
                 อันดับสุดทายในป ๒๕๔๒ ดังนั้น ปจจุบันอาเซียนมีสมาชิกทั้งสิ้น ๑๐ ประเทศ มีวัตถุประสงคเริ่มแรก

                 เพื่อสรางสันติภาพในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต อันนํามาซึ่งเสถียรภาพทางการเมืองและความ
                 เจริญกาวหนาทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และเมื่อการคาระหวางประเทศในโลกมีแนวโนม
                 กีดกันการคารุนแรงขึ้น ทําใหอาเซียนหันมามุงเนนความรวมมือดานเศรษฐกิจการคาระหวางกันมากขึ้น

                 อยางไรก็ตามในชวงแรก การดําเนินงานความรวมมือทางเศรษฐกิจเปนไปอยางเชื่องชาเนื่องมาจาก
                 สาเหตุสําคัญคือ ประเทศภาคีตองการเวลาในการสํารวจสาขาความรวมมือที่มีความเปนไปได และ

                 ตองใชเวลาในการปรับตัวภายในประเทศ ซึ่งตอมาไดมีจุดมุงหมายในการเขารวมกันเปนประชาคม
                 อาเซียน (ASEAN Community) อันประกอบดวย ประชาคมความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Security

                 Community) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community) และประชาคมสังคม
                 และวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community) โดยสาขาการคมนาคมขนสงถือไดวา

                 เปนตัวจักรสําคัญในการขับเคลื่อนใหเกิดการรวมตัวกันดังกลาว อยางไรก็ดี เนื่องจากการคมนาคมขนสง
                 ระหวางประเทศมีความเกี่ยวของกับหลายภาคสวนของสังคม อีกทั้งยังมีผลตอความมั่นคงของประเทศ
                 ดังนั้น จึงทําใหตองมีการจัดทําความตกลงระหวางประเทศดานการขนสงทางถนนระหวางประเทศกัน

                 กอนที่จะอนุญาตใหรถจากตางประเทศเขามาสัญจรไดในประเทศ ซึ่งภายใตความตกลงอาเซียนนั้น
                 ไดมีการจัดทําความตกลงดานการขนสงทางถนนระหวางประเทศ จํานวน ๓ ฉบับ ดังนี้

                                      (๑)  กรอบความตกลงอาเซียนวาดวยการอํานวยความสะดวกในการขนสง
                 สินคาผานแดน (ASEAN Framework Agreement on the Facilitation of Goods in Transit)

                                      (๒)  กรอบความตกลงอาเซียนวาดวยการอํานวยความสะดวกในการขนสง
                 ขามแดน (ASEAN Framework Agreement on the Facilitation of Inter-State Transport)

                                      (๓)  กรอบความตกลงอาเซียนวาดวยการขนสงตอเนื่องหลายรูปแบบ (ASEAN
                 Framework Agreement on Multimodal Transport) ในปจจุบัน ประเทศสมาชิกอยูในระหวางการดําเนินการ
                 ตกลงกันในรายละเอียดที่เกี่ยวของกับการขนสงทางถนนระหวางประเทศทั้งหมดซึ่งการดําเนินการ

                 ดังกลาวยังไมแลวเสร็จ  ทําใหการสัญจรของพาหนะภายใตความตกลงอาเซียนดานการขนสงทางถนน
                 ระหวางประเทศยังไมเกิดผลในทางปฏิบัติ  สําหรับรายละเอียดของกรอบความตกลงอาเซียนวาดวย

                 การอํานวยความสะดวกในการขนสงสินคาผานแดน ไดมีการจัดทําพิธีสารแนบทาย ซึ่งมีรายละเอียด
                 ดังนี้
                                      พิธีสาร ๑  กําหนดเสนทางการขนสงผานแดนและจุดอํานวยความสะดวก

                                      พิธีสาร ๒  การกําหนดดานพรมแดนสําหรับการเขา-ออก
                                      พิธีสาร ๓  ประเภทและปริมาณรถ

                                      พิธีสาร ๔  ขอกําหนดทางเทคนิคของรถ
                                      พิธีสาร ๕  แผนประกันอุบัติภัยทางรถภาคบังคับอาเซียนในสวนของความรับผิด

                 ตอบุคคลที่สาม
   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208   209