Page 199 - จราจร
P. 199
๑๙๒
ñ) ÂØ·¸ÇÔ¸Õ¡ÒÃμÃǨμÃҨѺ¡ØÁ¤ÇÒÁ¼Ô´¡®¨ÃҨà ในการเตรียมแนวทางปฏิบัติ
ในการตรวจตราจับกุมความผิดกฎจราจร การจัดการของเจาหนาที่ตํารวจในเรื่องดังกลาวจําเปน
ตองใชยุทธวิธี (tactics) มาดําเนินการ การวางแผนดําเนินการเกี่ยวกับการตรวจตราจับกุมจะตอง
ดําเนินการในเชิงบวก (Positive) ที่ถูกกําหนดโดยมีปจจัยของเวลา (time) โครงการ (Projects)
จะตองกํากับอยางแนนอนตายตัว ซึ่งเมื่อมีแผนหรือการดําเนินการเสร็จแลวก็จะตองมีการประเมินผล
(Evaluate) ตามมา โดยแผนตาง ๆ ที่จะดําเนินการควร¨ÐμŒÍ§ÁÕ¢ŒÍÁÙÅ¢ŒÍà·ç¨¨ÃԧʹѺʹعจึงจะ
ดําเนินการได แผนประเภทตาง ๆ ที่เจาหนาที่ตํารวจสามารถนํามาใช ดังตัวอยางตอไปนี้
๑.๑) แผนกวดขันตรวจตราจับกุม (Intensive Surveillance) การตรวจตรา
จับกุม โดยมุงจุดสนใจไปที่ถนนเสนใดเสนหนึ่ง ในระยะเวลาหนึ่งเวลาใดเปนสิ่งที่สําคัญมาก เชน
ในระยะเวลา ๑-๒ เดือนที่มีการกวดขัน จะมีการสงเจาหนาที่ตํารวจออกตรวจ โดยปรากฏตัวตอประชาชน
อยางคึกคักเขมแข็งในการออกตรวจจับความผิด อาทิ การขับรถเร็วเปนหลัก เปนตน
เมื่อจะมีการเลือกถนนที่จะทําการตรวจจับนั้น ควรจะเลือกถนนที่มีความ
จําเปนสูงที่สุด ในชองจราจรที่จําเปนที่สุดใหไดเปนสิ่งสําคัญมาก นอกจากนี้ ระยะเวลาซึ่งมีการจราจร
หนาแนนมากที่สุด ก็เปนสิ่งสําคัญที่ตองตรวจสอบ เพราะจําเปนจะตองใชเปนขอมูลประกอบการทํางาน
รวมไปถึงการเคลื่อนยายจุดตรวจไปยังสถานที่แตกตางกัน ไมใชจุดเดิมที่จําเจก็จําเปนดวย ภายหลัง
จากการกวดขันจับกุมอยางหนักแลว จะปรากฏวาพฤติกรรมการขับขี่ของประชาชนในถนนยานนั้น
ก็จะเปลี่ยนแปลงไปอยางมากดวย แตเมื่อเลิกการกวดขันตรวจจับที่จุดใดไปแลวก็ไมควรจะเลิกรา
ไปอยางถาวร เพราะยังจําเปนที่จะตองกลับมาตรวจจับอีก เชน ทุก ๑ เดือนจะกลับมา ๒ ครั้ง
เพื่อที่จะสรางการจดจําแกประชาชนในยานนั้นใหรูสึกวาเจาหนาที่ตํารวจทํางานอยางสมํ่าเสมอ
การกวดขันจับกุมเฉพาะแหงที่สําคัญอีกประการหนึ่ง ไดแก การตรวจจับผูขับรถ
ดวยความเร็วสูงบริเวณโรงเรียนในชวงเปดเทอม ยุทธวิธีดําเนินการก็คือ การออกตรวจจับปรากฏตัว
เจาหนาที่ตามบริเวณหนาโรงเรียนตาง ๆ ใหมากที่สุดเทาที่จะทําได ในชวงเปดเทอม ระยะแรกประมาณ
๑-๒ สัปดาหแรก เพื่อเปนการเตือนผูขับขี่เกี่ยวกับความปลอดภัยภายหลังจากที่โรงเรียนหยุดปดเทอม
ไปเปนเวลานาน
การดําเนินการทั้งหลายที่ใชทรัพยากรตาง ๆ ไป วิธีการที่ใชแตละวิธีและเวลา
ทํางานที่เสียไป จะตองมีการจดบันทึกเปนหลักฐานเอกสารทั้งสิ้นเพื่อผลในอนาคต ทั้งนี้ รวมถึง
การบันทึกเกี่ยวกับการใชใบสั่งขณะกวดขันและจํานวนอุบัติเหตุเฉลี่ยที่ลดลงไปในชวงที่ดําเนินการดวย
๑.๒) การตรวจตราจับกุมแบบเฉพาะเรื่อง (Specialized Surveillance) ในบาง
กรณีการตรวจตราจับกุมก็ควรที่จะมุงไปที่การตรวจจับแกปญหาทีละเรื่องในครั้ง ๆ หนึ่ง ซึ่งอาจจะเปน
วิธีที่มีประสิทธิภาพมากกวาตรวจจับพรอม ๆ กันหลาย ๆ เรื่อง อาทิ
• ผูฝาฝนสัญญาณไฟ
• การขับรถเร็ว