Page 28 - จราจร
P. 28

๒๑




                             นอกจากนี้สิ่งสําคัญที่ประชาชนตองการจากอาชีพตํารวจคือ สิ่งที่ลงทายดวยคําวา “ธรรม”
                 เชน ศีลธรรม คุณธรรม ยุติธรรม มนุษยธรรม และเมตตาธรรม ซึ่งก็คือจริยธรรมหรือจรรยาบรรณของ

                 วิชาชีพที่ผูปฏิบัติงานสายจราจรควรยึดถือเปนหลักจริยธรรมและจรรยาบรรณพื้นฐานในการประพฤติ
                 ปฏิบัติตนนั่นเอง



                             ๓.๒  หลักเกณฑการปฏิบัติตนของตํารวจจราจรที่จะนําไปสูภาพลักษณของความเปน

                 สุภาพบุรุษจราจร
                                  เพื่อใหเปนไปตามนโยบายสํานักงานตํารวจแหงชาติ และเปนการเสริมสรางภาพพจน

                 ความสัมพันธ และความเขาใจอันดี ระหวางขาราชการตํารวจกับประชาชน กองบังคับการตํารวจ
                 จราจร โดยพลตํารวจตรี ปยะ ตะวิชัย ขณะดํารงตําแหนง ผูบังคับการตํารวจจราจร ไดจัดทํา โครงการ

                 “จราจร ๕ S สุภาพบุรุษจราจรในดวงใจ อุนใจปลอดภัย บนทองถนน” เพื่อใหขาราชการตํารวจ
                 ฝายจราจรของกองบังคับการตํารวจจราจรเปนตัวแทนสวนหนึ่งในการขับเคลื่อนตามนโยบาย

                 ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติไปสูเปาหมายที่เปนรูปธรรมอยางแทจริง ซึ่งมีกระบวนการ (Process)

                 ในการดําเนินการ ดังนี้
                                  ๑)   SMILE คือ การปฏิบัติหนาที่ดวยความยิ้มแยมแจมใส
                                  ๒)  SMART คือ การปฏิบัติหนาที่ดวยความมีบุคลิกภาพ ทั้งดานรางกาย

                 และการแตงกาย

                                  ๓)  SALUTE คือ การปฏิบัติหนาที่พรอมทั้งทําความเคารพดวยทาทางที่ถูกตอง
                 และเขมแข็งอยางสมํ่าเสมอ

                                  ๔)  SERVICE MIND คือ การปฏิบัติหนาที่ดวยจิตวิญญาณการใหบริการของ
                 ตํารวจที่ดี

                                  ๕)  STANDARD คือ การสรางมาตรฐานการปฏิบัติงานและการดําเนินการ
                 ตามมาตรฐานที่กําหนดไว ตํารวจจราจรทุกนายมีจิตวิญญาณในการใหบริการที่ดีแก ประชาชน ยิ้มแยม

                 แจมใส โดยตํารวจจราจรทุกนายจะตองปฏิบัติตอประชาชนผูสัญจรไปมาหรือประชาชนที่มาติดตอ
                 ราชการดวยจิตใจในการใหบริการ  (Service Mind) โดยใหระลึกไวเสมอวา ใหดูแลประชาชน

                 เหมือนดังเชนดูแลญาติของตนเอง ดังวิสัยทัศนของกองบังคับการตํารวจจราจร ที่วา “บริการดุจญาติ
                 พิทักษราษฎร ดุจครอบครัว”

                                  การใหบริการดวยความเต็มใจและมีอัธยาศัยไมตรีดวยใบหนาที่ยิ้มแยมแจมใส
                 ไมวาจะเปนการใหการชวยเหลือประชาชนเมื่อรถยนตเครื่องยนตขัดของ หรือกรณีที่รถยนตเฉี่ยวชนกัน

                 หรือเกิดอุบัติเหตุ เปนตน ยังมีการใหบริการอื่นๆ ในหนาที่จราจร เชน การชวยเหลือผูสูงอายุในการ
                 ขามถนน เปนตน
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33