Page 29 - จราจร
P. 29

๒๒




                               เพื่อใหตํารวจจราจรทุกนายเขาใจถึงบทบาทหนาที่ วิธีปฏิบัติ และการบริการประชาชน
              ที่เปนแนวทางของกองบังคับการตํารวจจราจร สะทอนถึงวิสัยทัศนขององคกรรวมทั้งพฤติกรรมที่ควร

              ปฏิบัติตอประชาชน เปนมาตรฐานเดียวกัน (Standard of Work) การศึกษาขั้นตอน และวิธีการปฏิบัติ
              ที่เปนที่ยอมรับของประชาชนตามหลักสากลอันจะนําไปสูการบรรลุเปาหมายสูงสุดของการบริหารจัดการ
              จราจร ตามสโลแกน (Slogan) ที่วา “ยิ้มแยมแจมใส (Smile) แตงกายถูกตอง (Smart) แคลวคลอง

              ทําความเคารพ (Salute) เจนจบใหบริการ (Service mind) มีมาตรฐานการทํางานที่ดี (Standard)”
                               การอํานวยความดานการจราจร ใหประชาชนเดินทางไปยังที่หมายดวยความ

              สะดวก รวดเร็วและปลอดภัย การใหบริการที่ดีโดยการสรางความสัมพันธที่ดีกับประชาชนและกับสังคม
              ตํารวจจราจรจึงเปรียบเหมือนกระบอกเสียงที่สําคัญในการกระจายชื่อเสียงและภาพลักษณของ

              สํานักงานตํารวจแหงชาติ แตในทางตรงกันขาม ถาขาดการสื่อสารที่ดีกับประชาชน ขาดความ
              เขาใจที่ตรงกัน การสื่อสารภาพลักษณโดยผานตํารวจจราจรก็จะกลับกลายเปนภาพลบและภาพลบ

              จากการปฏิบัติงานของตํารวจจราจรหากถูกเผยแพรก็มักจะเปนสิ่งที่ทุกคนเชื่อมากที่สุด อยางไรก็ตาม
              ภาพลักษณเปนสิ่งที่เกิดขึ้นได  และเปลี่ยนแปลงไดเสมอซึ่งอาจเปลี่ยนจากภาพลักษณที่ดี
              เปนภาพลักษณที่ไมดี หรือเปลี่ยนจากไมดีกลายเปนดีก็ได การสรางภาพลักษณจําเปนตองอาศัยระยะเวลา

              การสรางภาพลักษณที่ดีจึงไมสามารถทําไดในระยะเวลาอันรวดเร็ว หรือใชเวลาเพียงชวงสั้นๆ เนื่องจาก
              ภาพลักษณเปนสิ่งที่เกิดขึ้นทีละนอย และสะสมเพิ่มพูนมากขึ้นจนสามารถฝงรากฐานมั่นคงแนนหนา

              อยูในจิตใจและทัศนคติหรือความรูสึกนึกคิดของประชาชนซึ่งผลที่ไดรับตามมาก็คือ ชื่อเสียง เกียรติคุณ
              ความนิยมชมชอบ ความเชื่อถือ ศรัทธา ดังนั้นภาพลักษณจึงเปนสิ่งที่สามารถสรางขึ้นได หากตํารวจ

              จราจรทุกคนรูจักบทบาทหนาที่ของตนเองและออกปฏิบัติหนาที่อยางเต็มกําลัง ก็จะประชาสัมพันธ
              ตนเองได การใหบริการ การแสดงกิริยามารยาทการใชคําพูด การมีนํ้าใจ กับการที่ตํารวจจราจร

              ปรากฏตอสายตาประชาชนดวยความเหน็ดเหนื่อย อดทนทั้งตอสิ่งแวดลอมบนถนน สภาพอากาศรอน
              ฝุนละออง กลายเปนสิ่งที่สรางความประทับใจใหกับประชาชนจากที่มองวาตํารวจจราจรแกลงจับ
              เพื่อผลประโยชนเปนตํารวจทําตามหนาที่เพราะมีการฝาฝนกฎหมายจราจร ไดดังนี้ตํารวจจราจร

              ก็จะเปนตํารวจจราจรที่ดีเปนตํารวจของประชาชน สมกับคําวา “ÊØÀÒ¾ºØÃØɨÃҨÔ


              ñ.ó º·ºÒ·áÅÐอํา¹Ò¨Ë¹ŒÒ·Õè¢Í§à¨ŒÒ˹ŒÒ·ÕèตําÃǨ¨ÃҨà              ò

                          คําวา “การจราจร” ตาม พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ มาตรา ๔(๑) หมายความวา
              การใชทางของผูขับขี่ คนเดินเทาหรือคนที่จูงขี่ หรือไลตอนสัตว จากความหมายจึงเห็นไดวาการจราจร

              สงผลกระทบตอการดําเนินชีวิตประจําวันของบุคคลที่จําเปนตองเดินทางเพื่อประกอบภารกิจประจําวัน
              และมีโอกาสที่จะเผชิญหนากับตํารวจจราจรที่ทําหนาที่ปฏิบัติงานการควบคุมหรืออํานวยความสะดวก

              ในดานการจราจรบนทองถนน ดวยภาวะการตึงเครียดจากการจราจรติดขัด และการเรงรีบในแตละวัน

              ๒  ๑. พ.ต.อ.หญิง จินดา กลับกลาย. ๒๕๕๖. อํานาจหนาที่เจาพนักงานจราจร. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพโอเอ.
                ๒. พ.ต.อ.วีระวิทย วัจนะพุกกะ. เอกสารประกอบการบรรยายหลักสูตร ผกก. หลักสูตร สว. ประจําป พ.ศ.๒๕๕๙
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34