Page 34 - จราจร
P. 34

๒๗




                                         สําหรับ “ทาง” ในความหมายที่ ๒ นี้ มักเปนปญหาตอพนักงานสอบสวน
                 คอนขางมากเพราะบางสถานที่ไมสามารถจะพิจารณาไดชัดเจนวาเจาของทางนั้น “ยินยอม” ใหประชาชน

                 ใชในการจราจรหรือไม และคําวายินยอมนั้นมีความหมายเพียงใดถึงจะถือวายินยอม
                                         กรณีนี้จึงเปนอํานาจของหัวหนาเจาพนักงานจราจรเทานั้นในการที่จะกําหนดให

                 บริเวณหรือพื้นที่ใด ที่เจาของที่ดินไดเปดหรือยินยอมใหประชาชนใชในการจราจรเปนทาง เชน
                 ถนนสวนบุคคลภายในหมูบานตางๆ หากเจาของไมไดเปดหรือยินยอมใหใชเปนทางตามความหมาย

                 ของพระราชบัญญัติจราจรทางบกฯ ก็ไมสามารถนํามาตรการทางกฎหมายไปใชบังคับได ดังนั้น
                 หากเจาของยินยอมใหประชาชนใชและใหหัวหนาเจาพนักงานจราจรไดประกาศใชเปน “ทาง” ตาม

                 ความหมายของพระราชบัญญัติจราจรทางบกฯ แลวก็ยอมอยูภายใตการบังคับใชของพระราชบัญญัติ
                 จราจรทางบกฯ ตัวอยางเชน บริษัท ทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) ไดมอบพื้นที่ถนนเสนทางหลัก

                 ภายในทาอากาศยานสุวรรณภูมิใหเจาหนาที่ตํารวจจัดการจราจร หัวหนาเจาพนักงานจราจรจึงไดมี
                 ประกาศเปนทาง ตามประกาศของหัวหนาเจาพนักงานจราจรจังหวัดสมุทรปราการ เปนตน

                                     ๒.  อํานาจผูบัญชาการตํารวจแหงชาติในการแตงตั้งอาสาจราจร ( มาตรา ๑๓๖ )

                                     “มาตรา  ๑๓๗  ในการปฏิบัติหนาที่ที่ไดรับมอบหมายของอาสาจราจร
                 ตามพระราชบัญญัตินี้ใหอาสาจราจรเปนเจาพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา”
                                     อํานาจในการแตงตั้งอาสาจราจรเพื่อทําหนาที่ชวยเหลือการปฏิบัติงานของเจาพนักงาน

                 จราจรเปนอํานาจของผูบัญชาการตํารวจแหงชาติหรือบุคคลที่ไดรับมอบหมายจากผูบัญชาการตํารวจ

                 แหงชาติโดยการแตงตั้งจะตองแตงตั้งจากบุคคลที่ผานการอบรมตามหลักสูตรอาสาจราจรในการปฏิบัติหนาที่
                 ที่ไดรับมอบหมายของอาสาจราจรตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ โดยกําหนดให

                 อาสาจราจรเปนเจาพนักงานตามกฎหมายอาญา ตามขอกําหนดสํานักงานตํารวจแหงชาติ เรื่อง
                 อาสาจราจร กําหนดใหผูที่ผานการศึกษาอบรมและทดสอบหลักสูตรอาสาจราจรครบถวนแลว เมื่อได

                 รับการพิจารณาแตงตั้งเปนอาสาจราจรใหหนวยงานที่รับผิดชอบดําเนินการจัดทําทะเบียนประวัติ
                 กําหนดหมายเลขประจําตัว และจัดใหทําหนาที่ชวยเหลือการปฏิบัติหนาที่ของพนักงานเจาหนาที่

                 ตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ ดังตอไปนี้
                                         (๑) ตรวจ ควบคุม และจัดการจราจร บริเวณที่มีการจราจรติดขัดคับคั่ง

                 หรือในกรณีที่มีเหตุฉุกเฉินเกิดขึ้น เมื่อพนักงานเจาหนาที่รองขอ เวนแตกรณีไมมีพนักงานเจาหนาที่
                 อยูในที่นั้นจึงปฏิบัติหนาที่โดยลําพังได

                                         (๒)  ดูแล การหยุดรถ จอดรถ การขามทาง เพื่อใหการจราจรสะดวก
                 และปลอดภัยในบริเวณที่มีการฝาฝนกฎหมาย จนการจราจรไมสะดวก

                                         (๓)  ชี้แจง ตักเตือน แนะนํา ตลอดจนการโฆษณาประชาสัมพันธใหผูใชทาง
                 ทราบระเบียบ วิธีการที่ถูกตองและปฏิบัติตาม
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39