Page 33 - จราจร
P. 33

๒๖




                                 ๑๑.  ผูกํากับการฝายอํานวยการ กองบังคับการตํารวจจราจร เปนหัวหนา
              เจาพนักงานจราจรเฉพาะตามความในมาตรา ๑๙ มาตรา ๑๑๔ และมาตรา ๑๓๓ แหงพระราชบัญญัติ

              จราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒
                                 ๑๒.  รองผูกํากับการงานศูนยควบคุมจราจร ดวน ๑ รองผูกํากับการงานศูนย

              ควบคุมจราจร ดวน ๒ และรองผูกํากับการงานศูนยควบคุมจราจร วิภาวดี/ทางพิเศษ กองกํากับการ ๒
              กองบังคับการตํารวจจราจร เปนหัวหนาเจาพนักงานจราจรเฉพาะตามความในมาตรา ๑๙ มาตรา ๑๑๔

              มาตรา ๑๓๓ มาตรา ๑๔๒ มาตรา ๑๔๓ มาตรา ๑๔๓ ทวิ และมาตรา ๑๔๔ แหงพระราชบัญญัติ
              จราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ ในเขตอํานาจการรับผิดชอบ

                                 ทั้งนี้ ใหหมายความรวมถึงผูรักษาราชการแทน ในตําแหนงดังกลาวดวย
                                 อํา¹Ò¨¢Í§à¨ŒÒ¾¹Ñ¡§Ò¹¨ÃÒ¨Ã

                                 ๑.  อํานาจในการกําหนด “ทาง” ตามความหมายของพระราชบัญญัติจราจรทางบก
              พ.ศ.๒๕๒๒ (มาตรา ๑๓๕)

                                 ตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ ไดใหคําจํากัดความ คําวา “ทาง”

              หมายความวา ทางเดินรถ ชองเดินรถ ชองเดินรถประจําทาง ไหลทาง ทางเทา ทางขาม ทางรวม
              ทางแยก ทางลาด ทางโคง สะพาน และลานที่ประชาชนใชในการจราจร และใหหมายความรวมถึง
              ทางสวนบุคคลที่เจาของยินยอมใหประชาชนใชในการจราจรหรือที่หัวหนาเจาพนักงานจราจรไดประกาศ

              ใหเปนทางตามพระราชบัญญัตินี้ดวย แตไมรวมถึงทางรถไฟ “ทาง” ถือวามีความสําคัญอยางยิ่ง เพราะสถานที่

              เกิดเหตุในคดีจราจรจะตองเกิดขึ้นในทางเสียกอนเมื่อคดีเกิดขึ้นในทางแลวจึงจะนําเอาพระราชบัญญัติ
              จราจรทางบกฯ ไปพิจารณามีความเห็นทางคดีได แตถาเมื่อใดสถานที่เกิดเหตุไมใชทางตามพระราช

              บัญญัติจราจรทางบกฯ แลว พนักงานสอบสวนก็ไมสามารถจะนําเอาพระราชบัญญัติจราจรทางบกฯ
              เขาไปปรับเพื่อมีความเห็นทางคดีไดเมื่อพิจารณาตามคําจํากัดความของคําวา “ทาง” ตามมาตรา ๔(๒)

              แลว สามารถอธิบายไดเปน ๒ ประการ คือ
                                     ๑)  “·Ò§” ตามความหมายที่ ๑ หมายถึง ถนนหนทางตางๆ ตรอก ซอย

              โดยสภาพมองเห็นชัดเจนและอยูในความดูแลของทางราชการหรือของแผนดินในการพิจารณาใชเปน
              สถานที่เกิดเหตุของพนักงานสอบสวนในทางปฏิบัตินั้นไมมีปญหาเพราะสามารถพิจารณาดูได เชน

              ถนนพหลโยธิน ถนนวิภาวดีรังสิต ถนนเพชรเกษม ฯลฯ ซอยตางๆ ที่แยกออกจากถนนเชนวานี้
              และตามถนนเหลานี้ก็จะมีเครื่องหมายการจราจรกําหนดไว

                                     ๒)  “·Ò§” ตามความหมายที่ ๒ หมายถึง ทางสวนบุคคลไมวาจะเปนของ
              บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ได แตจะตองไมใชของทางราชการหรือแผนดิน แตเปน “ทาง” เพราะ

              พระราชบัญญัติจราจรทางบกฯ กําหนดใหเปนทาง ทางที่เปนของสวนบุคคลที่จะจัดวาเปนทาง
              ตาม พ.ร.บ.จราจรทางบกฯ นั้น หมายถึง ทางที่สวนบุคคลนั้นเจาของยินยอมใหประชาชนใชในการจราจร
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38