Page 31 - จราจร
P. 31

๒๔




                                 ๒)  ขณะบริหารจัดการจราจร
                                     ๑.  ตองพิจารณาจัดกําลังใหเหมาะสมสับเปลี่ยนหมุนเวียนเปนผลัดโดยควร

              มีระยะเวลาในการปฏิบัติในแตละครั้ง ไมควรเกิน ๘-๑๐ ชั่วโมง และมีการมอบหมายผูควบคุมกําลัง
              ระดับสัญญาบัตรไวอยางชัดเจน

                                     ๒.  มีการกําหนดแผนการปฏิบัติไวลวงหนาตามที่ไดมีการประเมินสถานการณ
              ดานการจราจรไวและประสานการรวมปฏิบัติกับหนวยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของอยางเหมาะสม เชน

              ทองที่ใกลเคียง เจาหนาที่จังหวัด อําเภอ เขต อาสาจราจร ฯลฯ
                                     ๓.  ประชาสัมพันธดานการจราจรผานสื่อตาง ๆ ทุกแขนง เชน วิทยุ โทรทัศน

              การสื่อสารออนไลน หนังสือพิมพ ฯลฯ ในการบริหารจัดการจราจรอยางมีประสิทธิภาพ
                                 ๓)  หลังการบริหารจัดการจราจร

                                     ๑.  รวบรวมผลการปฏิบัติภารกิจแตละครั้ง สรุปรายงานผลการปฏิบัติ ปญหา
              อุปสรรค ขอขัดของ ขอเสนอแนะ พรอมภาพถายการปฏิบัติในกรณีเหตุ/สถานการณพิเศษรายงาน

              ผูบังคับบัญชาตามลําดับชั้นโดยเร็ว

                                     ๒.  เก็บรวบรวมบทเรียนกรณีศึกษาเหตุการณ/สถานการณพิเศษ
              ที่นาสนใจไวเปนแนวทางการปรับปรุงการบริหารจัดการในครั้งตอไป
                                     ๓.  รวบรวมหลักฐานการเบิกงบประมาณ (กรณีมีงบประมาณจัดสรรให)

              รวมทั้งเปนขอมูลในการจัดทําคําของบประมาณในการปฏิบัติครั้งตอไป

                          ñ.ó.ò º·ºÒ·Ë¹ŒÒ·Õè¢Í§ตําÃǨ㹡Òúѧ¤ÑºãªŒ¡®ËÁÒÂ
                                 ๑)  หนาที่ในฐานะที่เปนเจาพนักงานตํารวจถือวาเปนผูที่มีอํานาจหนาที่

              โดยตรงในการบังคับใชกฎหมายอาญาดําเนินคดีกับผูฝาฝนกระทําผิดกฎหมายในทางอาญา ไดแก
              ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาหรือกฎหมายอื่นที่มีโทษทางอาญา เชน พระราชบัญญัติที่มีโทษ

              ทางอาญาตางๆ อาทิ พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พระราชบัญญัติแรงงานตางดาว พระราชบัญญัติ
              อาวุธปนฯ พระราชบัญญัติขนสงทางบก พระราชบัญญัติรถยนต เปนตน ดังนั้นเมื่อตํารวจจราจร

              พบการกระทําความผิดใดที่เปนการฝาฝนบทบัญญัติตามกฎหมายทางอาญา ตํารวจจราจรยอมมีอํานาจ
              จับกุม ตรวจคนในฐานะที่เปนเจาพนักงานตํารวจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาได

                                 ๒)  หนาที่ในฐานะของตํารวจจราจร ซึ่งถูกกําหนดอยูในกฎหมายและระเบียบ
              คําสั่งตางๆ อาทิ พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ ระเบียบการตํารวจไมเกี่ยวกับคดี คําสั่งสํานักงาน

              ตํารวจแหงชาติซึ่งกําหนดบทบาทอํานาจหนาที่ของตํารวจจราจรตามเนื้อหาของบทกฎหมาย หรือ
              ระเบียบนั้นๆ สามารถแยกประเด็นเรื่องอํานาจหนาที่ ไดแก อํานาจหนาที่ตามกฎหมาย และอํานาจ

              หนาที่ตามระเบียบของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36