Page 10 - sutthida
P. 10

เนื้อหำประกอบกำรเรียน

                   1)  ควำมหมำยของเศรษฐศำสตร์:  เศรษฐศาสตร์คือศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับการเลือกหนทางในการใช้
                       ปัจจัยการผลิตอันมีอยู่จ ากัด    ส าหรับการผลิตสินค้าและบริการเพื่อตอบสนองความต้องการที่ไม่จ ากัด

                       ของมนุษย์


                   2)  ทรัพยำกรกำรผลิต (Productive Resources): แบ่งได้ 2 ประเภท คือ (1) สิ่งที่คนสร้างขึ้น (Man-

                       Made Resources) และ (2) เกิดเองโดยธรรมชาติ (Natural-Made Resources)


                   3)  ปัจจัยกำรผลิต (Productive Factors): แบ่งได้ 4 ประเภท คือ (1) แรงงาน (Labor: ค่าแรง) (2)

                       ที่ดินและทรัพยากรณ์ธรรมชาติ (Land and Natural Resources: ค่าเช่า) (3) ทุน (Capital: ดอกเบี้ย)
                       และ (4) ผู้ประกอบการ (Entrepreneur: ก าไร)

                       โดยในระบบทุนนิยม  ผู้ประกอบการจะเป็นปัจจัยที่ส าคัญที่สุด  เพราะเป็นผู้ริเริ่มการผลิตและเป็นผู้
                       รวบรวมปัจจัยการผลิตอื่นๆ นอกจากนั้นยังเป็นผู้วางนโยบายและตัดสินใจในทุกขั้นตอนการผลิต ดูรูป

                       ที่ 1




























                                            รูปที่ 1: ควำมสัมพันธ์ของทรัพยำกรณ์กำรผลิต


                   4)  สินค้ำและบริกำร (Goods and Services):  แบ่งได้ 2 ประเภท คือ (1) เศรษฐทรัพย์ (Economic

                       Goods) และ (2) ทรัพย์เสรี (Free Goods)


                       เศรษฐทรัพย์มี “ต้นทุน” การผลิต แต่ทรัพย์เสรีไม่มี
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15