Page 5 - งานนำเสนอบท1_Neat
P. 5
4
2. มาตรฐานอาชีพ (Occupation Standard : OS)
มาตรฐานอาชีพ หมายถึง สมรรถนะงานหลัก และงานย่อยของแต่ละอาชีพ ประกอบด้วย
งาน ขอบเขตของงาน ความรู้ที่ต้องใช้ และผลงานที่เป็นรูปธรรม
เกณฑ์การปฏิบัติงาน ขอบเขตของงาน ความรู้ที่ต้อง
3. ความเป็นมา
การจัดประเภทมาตรฐานอาชีพ (ประเทศไทย) เดิมเป็นภารกิจของกรมแรงงาน กระทรวงมหาดไทย
จัดพิมพ์เผยแพร่ครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2512 โดยใช้หลักเกณฑ์การจัดแบ่งหมวดหมู่ และก าหนดรหัส
นาทมาตรฐานอาชีพสากล (International Standard Classification of Occupations : ISCO
ขององค์การระหว่างประเทศ (International Labour Organization : ILO) ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ใน
เริงงานและสามารถเปรียบเทียบข้อมูลกับนานาประเทศได้อย่างเป็นสากล ในการจัดเก็บสถิติด้าน
แรงงานและสามารถเปรียบเทียบของ
ปัจจุบันการจัดประเภทมาตรฐานอาชีพ (ประเทศไทย) เป็นภารกิจของกระทรวงแรงงาน โดย
กรมการจัดหางานที่เป็นหน่วยงานหลักในการด าเนินการจัดท าข้อมูลและก าหนดรหัสหมวดหมู่
อาชีพตาม หลักเกณฑ์เดียวกับการจัดประเภทมาตรฐานอาชีพสากล (ISCO) ซึ่งทาง ILO ได้ท าการ
ปรับปรุง ISCO มาแล้ว 2 ครั้ง ครั้งล่าสุดคือปี 1988 ซึ่งเป็นฐานของการจัดประเภทมาตรฐานอาชีพ
ของไทยในปัจจุบัน
4. วัตถุประสงค์การจัดท าการจัดประเภทมาตรฐานอาชีพ
การจัดท าการจัดประเภทมาตรฐานอาชีพ (ประเทศไทย) ในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้
4.1 เพื่อปรับปรุงข้อมูลอาชีพของประเทศไทยให้ถูกต้องและสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
รวมทั้งเพื่อให้ สอดคล้องกับการจัดประเภทมาตรฐานอาชีพสากลที่ได้มีการปรับปรุงใหม่
4.2 เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และบุคคลทั่วไปมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง
เกี่ยวกับ ข้อมูลอาชีพ และสะดวกแก่การน าไปใช้ประโยชน์
4.3 เพื่อเพิ่มประสิทธิพลของการจัดเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับอาชีพ
4.4 เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลอาชีพของประเทศไทย
5. ประโยชน์การจัดท าการจัดประเภทมาตรฐานอาชีพ
กรมการจัดหางานได้ด าเนินการจัดท าการจัด ประเภทอาชีพเพื่อให้หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน
ได้มีความเข้าใจ ที่ถูกต้องตรงกันในเรื่องอาชีพ และเพื่อการน าข้อมูลไปใช้ประโยชน์ใน ด้านต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานด้านแรงงาน เช่น การ ก าหนดค่าจ้าง การแนะแนวอาชีพ การ
ฝึกอบรม การจ้างงาน รวมถึง การวิเคราะห์การเจ็บป่วยหรือเสียชีวิตที่เกิดขึ้นจากอาชีพ การที่มี
ระบบฐานข้อมูลเดียวกันสามารถจะน าข้อมูลสถิติไปอ้างอิงและ เปรียบเทียบได้ทั้งในระดับ
หน่วยงานกับระดับประเทศ