Page 10 - งานนำเสนอบท1_Neat
P. 10
9
3. หลักการในชื่ออาชีพ
ส าหรับชื่อของกลุ่มอาชีพ ตั้งแต่ระดับหมวดใหญ่ถึงหน่วยอาชีพนั้นจะใช้ตามอย่างมาตรฐาน
สากล คือ
หมวดใหญ่ ให้ชื่อที่แสดงให้เห็นถึงลักษณะงาน ซึ่งบุคคลนั้นท าอยู่ เช่น งานจัดการ งานที่
ต้องใช้วิชาชีพ งานบริการ งานเสมียน พนักงานหรืองานทางด้านการเกษตรหรืออุตสาหกรรม ฯลฯ
หมวดย่อย ให้ชื่อกลุ่มอาชีพที่จ าแนกย่อยจากหมวดใหญ่โดยจะแสดงถึงลักษณะงานที่
จ าแนก ออกเป็นส่วน ๆ ชัดเจนขึ้น
หมู่ จะเป็นชื่อกลุ่มอาชีพที่จ าแนกย่อยจากหมวดย่อยและแสดงถึงลักษณะงานที่ขีดวงจ ากัด
ขึ้น อาจใช้ชื่ออย่างเดียวกับหน่วยอาชีพซึ่งอยู่ในหมู่นั้นโดยรวม ชื่อหน่วยอาชีพทุกหน่วยหรือเพียงบาง
หน่วย
หน่วย เป็นกลุ่มอาชีพที่จ าแนกย่อยจากหมู่และชื่อจะแสดงถึงกลุ่มตัวอาชีพที่อยู่ในหน่วย
อาชีพนั้น ๆ
ตัวอาชีพ เป็นหน่วยที่เล็กที่สุด จ าแนกย่อย จากหน่วยอาชีพ การให้ชื่อตัวอาชีพและกลุ่ม
อาชีพนี้ได้ใช้ชื่อซึ่ง เป็นชื่อสากลหรือใช้เรียกอย่างเป็นทางการ และเป็นที่เข้าใจกัน โดยทั่วไป แต่
อย่างไรก็ตามได้พยายามรวบรวมและใส่ชื่อที่ใช้ เรียกกันในท้องถิ่นหรือในตลาดแรงงานก ากับไว้ด้วย
เพื่อ สะดวกแก่ผู้ใช้ประโยชน์
4. หลักการเขียนนิยามอาชีพ
นิยามอาชีพของกลุ่มอาชีพในระดับ หมวดใหญ่ หมวดย่อย หมู่และหน่วยนั้น ส่วนใหญ่ เป็น
นิยามอาชีพที่ท าการคัดลอกจากนิยามอาชีพสากล โดยผ่านการพิจารณาและปรับให้เข้ากับสภาพ
ข้อเท็จจริงของประเทศ ซึ้งนิยามแต่ละกลุ่มจะแสดงถึงความหมายของหน้าที่และลักษณะงานของกลุ่ม
อาชีพนั้น
นิยามอาชีพในเอกสารฉบับนี้ ได้ผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาอาชีพต่าง ๆ ที่
ได้สละทั้งเวลาความรู้และความสามารถในการช่วยแก้ไขร่าง พร้อมให้ข้อเสนอแนะจนได้นิยามอาชีพ
แต่ละ อาชีพโดยมีรูปแบบการเขียนนิยามอาชีพ ดังนี้
นิยามของตัวอาชีพแต่ละตัวจะแสดงถึงลักษณะงานอาชีพที่ต้องปฏิบัติโดยแยกเนื้อหาออก
ดังนี้ ในประโยครกแรกจะเป็นการอธิบายถึงลักษณะหน้าที่งานหลักของตัวอาชีพ ซึ่งจะจบด้วย
เครื่องหมาย : ประโยคหลังเครื่องมาย : จะเป็นการบรรยายลักษณะงานหรือการปฏิบัติ ซึ่งในบาง
หน่วยอาชีพจะบรรยายตามล าดับ ขั้นตอนงานและแยกประโยคด้วยเครื่องหมาย “,” บางอาชีพมีการ
บรรยายถึงลักษณะงานส่วนย่อยซึ่งบางคน อาจทางานส่วนนี้อยู่ด้วยหรือไม่ขึ้นกับขนาดของสถาน
ประกอบการหรือองค์กร และจะขึ้นต้นประโยคด้วย ค าว่า “อาจ”