Page 9 - งานนำเสนอบท1_Neat
P. 9

8








                      2. ลักการใช้เลขรหัส
                      ในช่วงระหว่างการด าเนินการจัดท าการจัดประเภทมาตรฐานอาชีพ (ประเทศไทย) ได้มี

             ผู้เชี่ยวชาญจากองค์การแรงงานระหว่างประเทศ คือ Mr.  Edwin  Hoffman  ซึ่งเป็นผู้ที่ร่วม

             ด าเนินการ ปรับปรุงและจัดท าข้อมูลการจัดประเภทมาตรฐานอาชีพสากลมาให้ความรู้และอธิบายถึง
             หลักเกณฑ์โครงสร้าง การจัดประเภทมาตรฐานอาชีพสากล และได้เน้นย้ าให้ประเทศสมาชิกที่น า

             ISCO  ไปปรับใช้ให้ก าหนดเลขรหัส ตั้งแต่ระดับหมวดใหญ่ถึงหน่วย เป็นเลขรหัสเดียวกับสากล โดย

             แต่ละประเทศสามารถจะเพิ่มเลขรหัสตั้งแต่ ระดับหมวดย่อยถึงหมู่ได้แต่ต้องไม่เป็นเลขรหัสที่ซ้ ากับ
             เลขรหัสสากล และหากเลขรหัสในระดับใดก็ตามไม่ปรากฏ กลุ่มอาชีพ ในประเทศนั้นก็สามารถจะคง

             เลขรหัสไว้หรือข้ามเลขรหัสนั้นไปได้ โดยต้องไม่น ากลุ่มอาชีพถัดไป หรือกลุ่มอาชีพที่เพิ่มเติมเข้ามา

             ใช้เลขรหัสดังกล่าว ทั้งนี้เพื่อมิให้เกิดความสับสนของเลขรหัสที่เป็นสากล มีสาระส าคัญ คือ


                      2.1 การให้เลยรหัสของการจัดประเภทมาตรฐานอาชีพ (ประเทศไทย) ฉบับนี้ตั้งแต่เลข

             รหัสระดับหมวดใหญ่) หมวดย่อย หมู่และหน่วยจะให้เลขรหัสเหมือนกับของการจัดประเภท

             มาตรฐานอาชีพสากล (ฉบับ ปี 2531) ทั้งนี้เพื่อให้เป็นไปตามข้อเสนอแนะและเพื่อให้เป็นไปตาม
             ข้อเสนอแนะและให้ข้อมูลสามารถเปรียบเทียบกับนานาประเทศได

                      2.2 การให้เลยรหัสในหมู่อาชีพ (group เลขรหัส 4 หลัก) ซึ่งลงท้ายด้วยเลข 2 หมายถึงระ

             เภทไว้ในหมู่อาชีพใด ๆ จะมารวมกันไว้ในหมู่อาชีพนี้ อาชีพอื่น ๆ ซึ่งไม่สามารถจัดประเภทไว้ในหมู่

             อาชีพใดๆ จะมารวม
                      2.3 การให้เลขรหัสตัวอาชีพ (occupations : A0S ในหน่วยอาชีพใดหน่วยอาชีพหนึ่งนั้น

             จะให้เลขรหัสเรียงไปตามล าดับ โดยปกติจะมีการหาระหว่าง10,20,30 ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับจ านวนตัวอาชีพ

             ที่มีอยู่ในหน่วยอาชีพเดียวกัน ถ้าช่วงห่างระหว่างเชิงกรหัสอาชีพใน หน่วยอาชีพสั้น แสดงให้เห็นว่า
             อาชีพเหล่านั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดยิ่งกว่าอาชีพอื่น ๆ ที่อยู่ในหน่วย อาชีพเดียวกัน เช่น

             อาจเป็น 10. 15 หรือ 10, 12, 14, 16, 18 เป็นต้น

                      2.4 เลขรหัสสองตัวสดท้ายของตัวอาชีพ เลขรหัสหลักที่ 5 ที่ลงท้ายด้วย 10 แสดงให้เห็น
             ว่า อาชีพนั้นเป็นอาชีพที่มีลักษณะงานแบบทั่ว ๆ ไปหรือลักษณะงานของอาชีพนั้นครอบคลุมไปหมด

             ทุกอาชีพที่อยู่ ในหน่วยเดียวกันไม่ได้ท างานหรือมีความช านาญงานด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ

                      2.5 เลขรหัสสองตัวสุดท้ายของตัวอาชีพ เลขรหัสหลักที่ 5 ที่ลงท้ายด้วย 90 หมายถึง ผู้ที่
             ปฏิบัติงานเบ็ดเตล็ด ซึ่งเกี่ยวข้องกับอาชีพอื่น ๆ ในหน่วยอาชีพเดียวกัน แต่เป็นงานซึ้งไม่มี

             ความส าคัญ เพียงพอที่จะจัดประเภทออกเป็นตัวอาชีพเลขรหัสหลักที่ 5 ได้
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14