Page 6 - งานนำเสนอบท1_Neat
P. 6

5







                            6. การด าเนินงานการจัดท าการจัดประเภทมาตรฐานอาชีพ

                            เนื่องจากองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International                    Labour

             Organization)  ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบด าเนินการได้มีการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการจัด

             ประเภทมาตรฐานอาชีพ (ISCO)  ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาเศรษฐกิจและ
             อุตสาหกรรมของประเทศไทย ท าให้ประเทศ ไทยต้องท าการปรับปรุงข้อมูลอาชีพให้ทันสมัยและ

             สอดคล้องกับการจัดประเภทมาตรฐานสากล

             การจัดประเภทมาตรฐานอาชีพประเทศไทยฉบับนี้ใช้เอกสารการจัดประเภทมาตรฐาน อาชีพสากล
             ฉบับปี 1988  ขององค์การแรงงานระหว่างประเทศเป็นหลักและแนวทางในการด าเนินงาน โดย

             กรมการจัดหางาน ได้ด าเนินการดังนี้

                            6.1  แปลและศึกษาข้อมูลจากเอกสาร International  Standard  Classification
             of Occupation (ISCO) ปี 1988 ซึ่งได้มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างให้เหมาะสมกับสภาพข้อเท็จจริง

                            6.2  ส ารวจและเก็บรวบรวมข้อมูลอาชีพจากกิจการและสถานประกอบการต่าง ๆ

             ในประเทศ
                            6.3  ศึกษาข้อมูลจากเอกสารต่าง ๆ เพิ่มเติม เช่น เอกสารหลักสูตรการเรียนการ

             สอนใน ระดับต่าง ๆ เอกสารประกอบการจัดท าโครงสร้างอัตราก าลังและต าแหน่งงานในหน่วยงาน

             ภาครัฐ

                            6.4 เอกรน รวมทั้งการค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต เป็นต้น 6.5 วิเคราะห์และเขียน
             ร่างนิยามอาชีพ

                            6.6       ประชุมผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาอาชีพต่าง ๆ ที่ได้รับการแต่งตั้งเป็น

             คณะอนุกรรมการ ที่ปรึกษาเพื่อการปรับปรุงการจัดประเภทมาตรฐานอาชีพเฉพาะสาขา เพื่อ
             พิจารณาตรวจแก้ไขร่างและให้ค าแนะน า รวมทั้งข้อมูลเพิ่มเติมก่อนน าเสนอคณะกรรมการที่ปรึกษา

             เพื่อปรับปรุงการจัดประเภทมาตรฐานอาชีพและ อุตสาหกรรม

                            7. กรอบแนวคิดการจัดท าการจัดประเภทมาตรฐานอาชีพ

             งาน (job)  หมายถึง ภารกิจ (Task)  หรือหน้าที่ (Duties)  ที่ต้องปฏิบัติงาน หลายงานที่มี ลักษณะ
             คล้ายคลึงกันรวมกันเข้าเป็นอาชีพ

                            “อาชีพ”  ในเอกสารฉบับนี้ หมายถึง งานซึ่งบุคคลใดบุคคลหนึ่งปฏิบัติอยู่ไม่หมาย

             รวมถึง อุตสาหกรรม กิจการ สถานะการท างาน หรือประสบการณ์ในการท างานของผู้ปฏิบัติงาน
             ในการจัดประเภทมาตรฐานอาชีพสากลได้น าเอาทักษะ (skil) ซึ่งหมายถึง ความสามารถ ในการ

             ท างานที่ได้รับมอบหมายให้ส าเร็จมาพิจารณาโดยดูถึงระดับของทักษะ (Skill level) และทักษะ

             เฉพาะด้าน (skill specialization) แบ่งทักษะออกเป็น 4 ระดับ โดยใช้ระดับการศึกษาเป็นตัวแบ่ง
             หรืออธิบายถึงความสามารถ แต่ทั้งนี้ มิได้หมายความว่าการท างานทั้งหมดนั้นต้องได้รับการศึกษา
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11