Page 8 - งานนำเสนอบท1_Neat
P. 8
7
โครงสร้างการจัดประเภทอาชีพ
กรมการจัดหางาน ได้จัดแบ่งโครงสร้างการจัดประเภทมาตรฐานอาชีพ (ประเทศไทย) โดยใช้
หลักเกณฑ์การจัดแบ่งประเภทอาชีพเช่นเดียวกับการจัดประเภทมาตรฐานอาชีพสากล ปี 2531
(Intemational Standard Classification of Occupations 1988 : ISCO) โดย ISCO จะจัดแบ่ง
จัดประเภทอามา ออกเป็นหมวดใหญ่ (major) หมวดย่อย (Sub major) หมู่ (group) และหน่วย (-
ละหน่วย (unit) เท่านั้น ในระดับตัวอาชีพ Occupation จะเป็นหน้าที่ของแต่ระประเทศในการ
พิจารณาจ าแนกและจัดท ารายละเอียดอาชีพซึ่งจะ แตกต่างไปตามโครงสร้างเศรษฐกิจและ
ตลาดแรงงานของแต่ละประเทศ
การจัดจ าแนกประเภทอาชีพจะจัดแบ่งเป็นกลุ่มในระดับต่าง ๆ และก าหนดเลขรหัสในแต่
ละ ระดับด้วยเลขตั้งแต่ 1 6 หลัก โดยเลขรหัสอาชีพแต่ละหลักจะแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่าง
อาชีพและกลุ่ม อาชีพที่เกี่ยวข้องกัน
1. ลักการจัดท าโครงสร้างการจัดประเภทอาชีพและวิธีการให้เลขรหัส มีดังนี้
หมวดใหญ่ (major) เป็นกลุ่มอาชีพที่ใหญ่ที่สุด จัดแบ่งออกเป็น 10 หมวดใหญ่ แทนด้วย
เลย
รหัสหลักที่ 1
หมวดย่อย (sub major) เป็นกลุ่มอาชีพที่แบ่งย่อยจากหมวดใหญ่ จัดแบ่งออกเป็น 28
หมวด ย่อย แทนด้วยเลขรหัสหลักที่ 1 และ 2
หมู่ (group) เป็นกลุ่มอาชีพที่แบ่งย่อยจากหมวดย่อย จัดแบ่งออกเป็น 116 หมู่ แทนด้วย
เลข
รหัสหลักที่ 1 ถึง 3
หน่วย (unit) เป็นกลุ่มอาชีพที่แบ่งย่อยจากหมู่ จัดแบ่งออกเป็น 391 หน่วย แทนด้วยเลข
รหัส
หลักที่ 1 ถึง 4
ตัวอาชีพ (occupation) เป็นอาชีพที่ถูกจ าแนกเข้าไว้ในกลุ่มอาชีพระดับหน่วย แทนด้วย
เลข รหัสหลักที่
1 - 6 โดยแยกตัวเลขหลักที่ 5 และ 6 ออกจาก 4 หลักแรกด้วยจุดทศนิยม ซึ่งตัวอาชีพถูกจัดรวม
เข้าไว้ในหน่วยอาชีพนั้น เช่น อาชีพนักออกแบบเว็บไซต์หรือเว็บมาสเตอร์ สามารถแจกแจง
โครงสร้างได้ดังนี้