Page 7 - แผนการสอน เรื่องประวัติศาสตร์ไทยน่ารู้
P. 7

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1   ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์


               สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์                                                      ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3


                หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์                                   เวลา 2   คาบเรียน

               1. สาระส าคัญ
                       วิธีการทางประวัติศาสตร์ เป็นกระบวนการในการแสวงหาข้อเท็จจริงจากหลักฐานซึ่งเป็นร่องรอยจาก

               อดีตที่หลงเหลืออยู่ วิธีการทางประวัติศาสตร์ที่ส าคัญมี 5 ขั้นตอน ได้แก่ การก าหนดปัญหาหรือเรื่องที่จะศึกษา
               การรวบรวมหลักฐาน การตรวจสอบและประเมินคุณค่าของหลักฐาน การตีความหลักฐาน และการเรียบเรียง

               และการน าเสนอ

                       ตัวอย่างการใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ เราสามารถน าวิธีการทางประวัติศาสตร์มาประยุกต์ใช้กับ
               เรื่องราวของตนเองและครอบครัวได้ นอกจากนี้เรายังสามารถวิเคราะห์ตัวอย่างเหตุการณ์ส าคัญในสมัย

               รัตนโกสินทร์ได้
               2. ตัวชี้วัดชั้นปี

                       1.ส4.1ม.3/2  วิเคราะห์เรื่องราวเหตุการณ์ส าคัญทางประวัติศาสตร์ได้อย่างมีเหตุผลตามวิธีการทาง

               ประวัติศาสตร์
                       2.ส4.1ม.3/2  ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่างๆที่ตนสนใจ

               3. จุดประสงค์การเรียนรู้

                       1. รู้และเข้าใจความหมาย ความส าคัญของวิธีการทางประวัติศาสตร์ (K)
                       2. เห็นความส าคัญของวิธีการทางประวัติศาสตร์ (A)

                       3. ยกตัวอย่างและวิเคราะห์หลักฐานทางประวัติศาสตร์โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ (P)

               4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
                     ด้านความรู้ (K)        ด้านคุณธรรม จริยธรรม และ     ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

                                                   ค่านิยม (A)

               1. ทดสอบหลังเรียน           • ประเมินพฤติกรรมในการ      • ประเมินพฤติกรรมในการ
               2. ซักถามความรู้เรื่อง      ท างานเป็นรายบุคคลในด้าน    ท างานเป็นรายบุคคลและ

               วิธีการทางประวัติศาสตร์     ความมีวินัย ความใฝ่เรียน    เป็นกลุ่มในด้านการสื่อสาร
               3. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็น    รู้ ฯลฯ                     การคิด การแก้ปัญหา ฯลฯ

               รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม

               5. สาระการเรียนรู้
                       1.วิธีการทางประวัติศาสตร์

                       2. ตัวอย่างการใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์
                       3. ตัวอย่างการวิเคราะห์เหตุการณ์ส าคัญในสมัยประวัติศาสตร์
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12