Page 15 - หลักและวิธีการรายงานการรับ-ส่งเวรด้วยเทคนิค SBAR
P. 15

หลักและวิธีการรายงานการรับส่งเวรด้วยเทคนิค SBAR

               สถานการณ์การนําส่งหรือส่งต่อผู้ป่วยจากหน่วยงานหนึ่งสู่อีกหน่วยงาน


               หนึ่ง หรือในกรณีส่งต่อจากสถานพยาบาลกับสถานพยาบาล ข้อดีคือ


               ข้อมูลที่ได้มาจากกรอบที่กําหนดไว้ให้แต่สามารถปรับปรุงข้อมูลผู้ป่วยให้


               ทันสมัยตามเครื่องมือที่เก็บรวบรวมข้อมูลได้ ข้อเสียคือ ข้อมูลอาจไม่


               ครอบคลุมปัญหาของผู้ป่วย และไม่มีการเขียนการประเมินผล


                           4) รายงานการส่งเวรโดยคอมพิวเตอร์ (Computerized Report

               ) มีข้อดีคือ เป็นการรายงานการส่งเวรที่มีความสะดวก รวดเร็วทําให้


               พยาบาลมีเวลาดูแลผู้ป่วยมากขึ้น เข้าถึงข้อมูลได้ง่าย สามารถดูข้อมูล


               ย้อนหลังได้ ข้อมูลอ่านง่าย ข้อเสียคือ ข้อมูลที่จัดไว้ในระบบไม่ครอบคลุม


               ปัญหาและความต้องการของผู้ป่วย มีค่าใช้จ่ายสูง และผู้บริหารไม่เห็น


               ความสําคัญ



                       2. รูปแบบรายงานการส่งเวรจําแนกตามเนื้อหารายงานการ


               ส่งเวร  แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่


                           1) รายงานการส่งเวรโดยยึดปัญหาเป็นหลัก (Problem-


               oriented) ซึ่งเป็นรายงานที่ง่ายที่สุด ประกอบด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูล


               อัตนัยและปรนัยของผู้ป่วย นํามากําหนดเป็นปัญหา ให้ความช่วยเหลือ


               โดยปฏิบัติการพยาบาลตามการประเมินสภาพผู้ป่วย และดูปฏิกิริยา


               ตอบสนองของผู้ป่วยต่อการปฏิบัติการพยาบาล มีองค์ประกอบที่สําคัญใน

               การบันทึกและการรายงานการส่งเวร 5 องค์ประกอบ (Donaghue &


               Reilay, 1981) คือ












                                                           12
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20