Page 28 - เนื้อเรื่อง.pmd
P. 28

1.5 เตรียมชุมชน สถานที่ วัสดุอุปกรณ สื่อการเรียนรูตางๆ ที่ใชในการ
                                   ประชาคม และประสานงานกับทุกฝายที่เกี่ยวของ

                     2. ขั้นดำเนินการ

                             2.1 เตรียมความพรอมของประชาชนที่เขารวมประชาคม เชน สรางความ

               คุนเคย การแนะนำตัว ละลายพฤติกรรม ใหทุกคนไดรูจักกันโดยทั่วถึง กำหนดวัตถุประสงค
               ขอบเขต กติกาในการทำประชาคมใหชัดเจน

                             2.2 แลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกัน ทั้งคณะทำงานและประชาชนรวมกัน

               สะทอนความคิดเห็นตอประเด็น
                             2.3 คนหาปจจัยเกื้อหนุนหรือ “ทุน” ในชุมชน โดยรวมกันพิจารณาจุดเดน

               จุดดอย ขอจำกัดและโอกาสของการพัฒนาชุมชน ระดมสมองคนหา ทรัพยากรตางๆ ที่มีอยูใน

               ชุมชน รวมทั้งทุนทางสังคม ไดแก วัฒนธรรม ประเพณี ระบบเครือญาติ ความเอื้ออาทร ฯลฯ

               เพื่อใชทุนเหลานี้เปนพลัง ขับเคลื่อนกิจกรรมตางๆ ในชุมชน

                     3. ขั้นติดตามและประเมินผลการดำเนินการ
                             3.1 คณะทำงานและประชาชนกลุมเปาหมายรวมกันแสดงผล ประเมิน จุดเดน

               จุดดอย ขอบกพรองและสิ่งที่ควรปรับปรุง สำหรับการทำประชาคมครั้งตอไป รวบรวมผลงาน

               ที่ผานมา เพื่อเผยแพรและประชาสัมพันธ
                             3.2 ติดตามผลหลังการดำเนินงาน เมื่อจัดประชาคมเสร็จสิ้นแลว เชน คณะ

               ทำงานประชาชน กลุมเปาหมาย และผูเกี่ยวของทุกฝาย ตองประสานงาน เพื่อใหเกิดการสนับ

               สนุนการดำเนินงานตามมติของประชาชนอยางตอเนื่อง ใหกำลังใจ ชวยเหลือกันและกันอยาง
               จริงจัง







               วัตถุประสงคของการทำประชาคม

                        ในการทำประชาคมมีวัตถุประสงคที่สำคัญหลายประการ (ณัฐนรี ศรีทอง, 2552, 418-
               419) ดังนี้

                             1.    เพื่อสงเสริมใหประชาชนเกิดการเรียนรูซึ่งกันและกันอยางตอเนื่อง โดย

               สามารถ คิด วิเคราะหไดดวยตนเอง
                             2.    เพื่อสงเสริมใหประชาชนไดวิเคราะหปญหาของชุมชน และสามารถ

               กำหนด ทิศทางการทำงานดวยตนเอง

                             3.    เพื่อสรางจิตสำนึกสาธารณะใหเกิดขึ้น  ประชาชนในชุมชนรูจักทำงานเพื่อ
               สวนรวม และการพึ่งพาตนเอง

                             4.    เพื่อคนหาผูนำการเปลี่ยนแปลง (แกนนำ) ในชุมชน





               20                   หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม  รายวิชาการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม (สค 21003) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33