Page 30 - เนื้อเรื่อง.pmd
P. 30

4.    ควรรับฟงประเด็นและความคิดเห็นของผูอื่นอยางตั้งใจ หากไมเขาใจควร
               ซักถามผูดำเนินการดวยความสุภาพ

                             5.    ความคิดเห็นควรมีความเปนไปได มีความเหมาะสม

                             6.    ควรเสนอความคิดเห็นอยางสรางสรรค นั่นคือใชเหตุและผลประกอบ

               ความคิดเห็น
                             7.    รับฟงและเคารพความคิดเห็นของผูอื่น เพราะแตละคนมีสิทธิเสรีในการ

               แสดงความคิดเห็นอยางเทาเทียมกัน

                             8.    แสดงความคิดเห็นตอประเด็นรวมอยางตรงไปตรงมา
                             9.    ไมวางตนเปนผูขัดขวางตอการดำเนินงาน

                          4.2      การมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน

                             1.    การมีสวนรวมในการคนหาสาเหตุของปญหา เนื่องจากปญหาเกิดกับ

               ประชาชน ประชาชนในชุมชนยอมรูจักและเขาใจปญหาของตนดีที่สุด หากไดรวมกลุมกัน
               จะสามารถชาวยกันคิด วิเคราะหปญหาและสาเหตุไดอยางชัดเจนและรอบดาน

                             2.    การมีสวนรวมในการรวมคิดรวมวางแผน ประชาชนอาจรวมกันใชขอมูล

               ที่ไดจากการสำรวจและเรียนรูรวมกันจากการรวมกลุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น จากการคนหา

               ศักยภาพของชุมชน หรือจากการศึกษาดูงาน แลวนำขอมูลเหลานั้น มาคิดวางแผนรวมกัน
               ตัดสินใจรวมกัน ขั้นตอนนี้อาจคอยเปนคอยไป และอาศัย แกนนำที่เขมแข็ง

                             3.    การมีสวนรวมในการปฏิบัติ เนื่องจากประชาชนมีทุนของตนเอง ตั้งแต

               แรงงาน ประสบการณและทรัพยากร หากไดรวมกันปฏิบัติโดยใชทุนที่มีอยูยอมทำใหรูสึกถึง
               ความเปนเจาของรวมกัน เกิดการเรียนรูในการทำงานรวมกัน  การแกไขปญหารวมกัน โอกาส

               ที่จะนำไปสูเปาหมายจึงมีสูงกวาการปฏิบัติโดยอาศัย บุคคลภายนอก

                             4.    การมีสวนรวมในการติดตามและประเมินผล เมื่อประชาชนเปนผูปฏิบัติ
               และขณะเดียวกันประชาชนควรเปนผูติดตามและประเมินผลรวมกัน เพื่อจะไดรวมกันพิจารณา

               วา สิ่งที่ดำเนินการรวมกันนั้นเกิดผลดีบรรลุตามเปาหมาย ที่กำหนดหรือไมเพียงใด ควรปรับปรุง

               อยางไร ซึ่งจะทำใหประชาชนเห็นคุณคา ของการทำกิจกรรมเหลานั้น

                     4.3 การมีสวนรวมของประชาชนในการประชุมกลุมยอย

                             การประชุมกลุมยอยเปนการประชุมเพื่อระดมความคิด สำหรับการทำงาน
               อยางใดอยางหนึ่ง     โดยมีผูเขาประชุมประมาณ 4-12 คน

                        องคประกอบของการประชุมกลุมยอย

                        1.   กำหนดประเด็นการประชุม
                        2.   ผูเขาประชุมประกอบดวย 1) ประธาน 2) เลขานุการ 3) สมาชิกกลุม

                        3.   เลือก และกำหนดบทบาทผูเขาประชุมเพื่อทำหนาที่ ตางๆ เชน ประธานที่ทำ





               22                   หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม  รายวิชาการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม (สค 21003) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35