Page 87 - พท21001
P. 87
81
หลักเกณฑกวาง ๆ ในการพินิจวรรณคดีและวรรณกรรม มีดังนี้
1. ความเปนมาหรือประวัติของหนังสือและผูแตงเพื่อชวยใหวิเคราะหในสวนอื่น ๆ ไดดีขึ้น
2. ลักษณะคําประพันธ
3. เรื่องยอ
ื้
4. เนอเรื่อง ใหวิเคราะหเรื่องตามหัวขอตามลําดับ โดยบางหัวขออาจจะมีหรือไมมีก็ได
ตามความจําเปน เชน โครงเรื่อง ตัวละคร ฉาก วิธีการแตง ลักษณะการเดินเรื่อง การใชถอยคํา
สํานวนในเรื่อง การแตงวิธีคิดที่สรางสรรค ทัศนะหรือมุมมองของผูเขียน เปนตน
5. แนวคิด จุดมุงหมาย เจตนาของผูเขียนที่ฝากไวในเรื่องซึ่งจะตองวิเคราะหออกมา
6. คุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรม ซึ่งผูพินจจะตองไปแยกแยะหัวขอยอยให
ิ
สอดคลองกับลักษณะหนังสือที่จะพินิจนั้น ๆ ตามความเหมาะสมตอไป
การอานวรรณคดีเพื่อพิจารณาคุณคาดานวรรณศิลป
วรรณศิลป มีความหมายตามพจนานกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 วา ศิลปะ
ุ
ั
ในการแตงหนังสือ ศิลปะทางวรรณกรรม วรรณกรรมที่ถึงขึ้นวรรณคดี หนงสือที่ไดรับการยกยอง
วาแตงดี
ี้
จากความหมายน การพิจารณาคุณคาดานวรรณศิลปตองศึกษาตั้งแตการเลือกชนดคํา
ิ
ประพันธใหเหมาะสมกับประเภทงานเขียน ถูกตองตรงความหมาย เหมาะกับบุคคลหรือตัวละคร
ในเรื่องและรสวรรณคด การรูจักตกแตงถอยคาใหไพเราะสละสลวยอันเปนลักษณะเฉพาะภาษากวี
ี
ํ
และทําใหผูอานเกิดความสะเทือนอารมณ
ภาษากวีเพื่อสรางความงดงามไพเราะแกบทรอยแกวรอยกรองนั้น มีหลักสําคัญที่เกี่ยวของ
กัน 3 ดาน ดังนี้
1. การสรรคํา
2. การเรียบเรียงคํา
3. การใชโวหาร
การสรรคํา คือ การเลือกใชคําใหสื่อความคิด ความเขาใจ ความรูสึกและอารมณไดอยาง
งดงามโดยคํานึงถึงความงามดานเสียง โวหาร และรูปแบบคําประพันธ การสรรคําทําไดดังนี้
การเลือกคําใหเหมาะแกเนื้อเรื่องและฐานะของบุคคลในเรื่อง
การใชคําใหถูกตองตรงตามความหมาย
การเลือกใชคําพองเสียง คําซ้ํา
การเลือกใชคําโดยคํานึงถึงเสียงสัมผัส