Page 83 - พท21001
P. 83
77
บทที่ 6
วรรณคดี และวรรณกรรม
เรื่องที่ 1 ความหมายวรรณคดี และวรรณกรรม
วรรณคดี หมายถึง วรรณกรรมหรือหนังสือที่ไดรับการยกยองวาแตงดี กลาวคือ มีลักษณะ
เดนในการใชถอยคํา ภาษา และเดนในการประพันธ ใหคุณคาทางอารมณและความรูสึกแกผูอาน
โดยแบงไดเปน 3 ลักษณะ คือ
1. มีเนื้อหาดี มีประโยชน และเปนสุภาษิต
2. มีศิลปะการแตงที่ยอดเยี่ยมทั้งดานศิลปะการใชคํา โวหาร และถูกตองตาม
หลักไวยากรณ
3. เปนหนังสือที่ไดรับความนิยมและสืบทอดกันมายาวนานกวา 100 ป
คุณคาของวรรณคดี มี 2 ประการ คือ
1. คุณคาทางสุนทรียภาพหรือความงาม เชน ศิลปะของการประพันธทั้งการบรรยาย
การเปรียบเทียบการเลือกสรรถอยคําใหมีความเหมาะสม กระทบอารมณผูอาน มีสัมผัสใหเกิด
ความไพเราะ เปนตน
2. คุณคาทางสารประโยชน เปนคุณคาทางสติปญญาและสังคม วรรณคดีจะเขียนตาม
ความเปนจริงของชวิตใหคติสอนใจแกผูอาน สอดแทรกสภาพของสังคม วัฒนธรรมประเพณี
ี
ทําใหผูอานมีโลกทัศนกวางขึ้น
ิ
ิ
ั
ั
ี
วรรณกรรม หมายถึง งานหนงสือ งานนพนธที่ทําขึ้นทุกชนด เชน หนงสือ จุลสาร สื่อเขยน
สิ่งพิมพ ปาฐกถา เทศนา คําปราศรัย สุนทรพจน สิ่งบันทึก เสียง ภาพ
ประเภทของวรรณกรรม แบงตามเนื้อหา 4 ประเภท
1. ประเภทรอยแกว คือ วรรณกรรมที่ไมมีลักษณะบังคับ ไมบังคับจํานวนคํา สัมผัส
ิ
ิ
ิ
หรือเสียงหนกเบา วรรณกรรมที่แตงดวยรอยแกว ไดแก นทาน นยาย นวนยาย เรื่องสั้น สารคดี
ั
บทความ ขาว
2. ประเภทรอยกรอง คือ วรรณกรรมที่มีลักษณะบังคับในการแตง ซึ่งเรียกวาฉันทลักษณ
ิ
เชน โคลง ฉันท กาพย กลอน ราย ลิลิต วรรณกรรมประเภทรอยกรอง ไดแก บทละคร นวนยาย
บทพรรณนา บทสดุดี