Page 78 - พท21001
P. 78
72
ลักษณะเปรียบเทียบภาษาพูด กับภาษาเขียน
1. ภาษาพูดเปนภาษาเฉพาะกลุม หรือวัย จะมีการเปลี่ยนแปลงคําพูดอยูเสมอ เชน
ภาษาพูด – ภาษาเขียน วัยโจ – วัยรุน, แหว – ผิดหวัง, โหลยโทย – แยมาก,
ดิ้น – เตนรํา เซ็ง – เบื่อ เปนตน
2. ภาษาพูดมักเปนภาษาไทยแท เปนภาษาชาวบาน เขาใจงาย สวนภาษาเขียนมักจะ
ใชภาษาแบบแผน ภาษากึ่งแบบแผน และภาษาบาลี สันสกฤต เชน
ุ
ภาษาพูด – ภาษาเขียน ในหลวง – พระมหากษัตริย, เมีย – อนภรรยา, ปอดลอย –
หวาดกลัว, เกือก – รองเทา, ตีนเปลา – เทาเปลา เปนตน
3. ภาษาพูดมักจะเปลี่ยนแปลงเสียง และนยมตัดคําใหสั้นลง แตภาษาเขียนจะเครงครัด
ิ
ตามรูปคําเดิม เชน ภาษาพูด – ภาษาเขียน เพ – พี่, ใชปะ – ใชหรือเปลา, ใชมะ – ใชไหม
เปนตน
4. ภาษาพูดที่ยืมคําจากภาษาตางประเทศ เชน ภาษาอังกฤษ และภาษาจีน เมื่อนามาใช
ํ
มักจะตัดคําใหสั้นลง สวนภาษาเขียนจะใชคําแปลภาษาไทย หรือคําทับศัพท เชน
ภาษาพูด – ภาษาเขียน แอบ (abnormal) – ผิดปกติ, กอบ (copy) – สําเนาตนฉบับ,
เวอร (over) – เกินควร, กุนซือ (ภาษาจีน) – ที่ปรึกษา, บวย (ภาษาจีน) – สุดทาย เปนตน
ความแตกตางระหวางภาษาพูด และภาษาเขียน
การจะตัดสินวาคําใดเปนภาษาพูด คําใดเปนภาษาเขียนนั้นเปนเรื่องยากมาก ทั้งนี้
เพราะขึ้นอยูกับกาลเทศะ และบุคคลที่จะสื่อสาร และใชคํานั้น ๆ และบางคําเปนคํากลาง ๆ ใชได
ทั้งภาษาพูด และภาษาเขียน ความแตกตางระหวางภาษาพูด และภาษาเขียนพอสรุปไดดังนี้
1. คําบางคําจะใชเฉพาะในภาษาพูดเทานน ภาษาเขียนจะไมใชเลย เชน แย เยอะแยะ
ั้
โอโฮ จบไปเลย เปนตน
2. ภาษาเขียนจะไมใชสํานวนเปรียบเทียบ หรือคําแสลงที่ยังไมเปนที่ยอมรับในภาษา
เชน คําวา โดดรม ชักดาบ และพลิกล็อค เปนตน
ั
3. ภาษาเขียนจะเรียบเรียงถอยคําใหสละสลวยชดเจนไมซ้ําคํา ซ้ําความโดยไมจําเปน
สวนภาษาพูด อาจจะมีการซ้ําคํา และซ้ําความได เชน การพูดกลับไปกลับมา เปนย้ําคําเพื่อเนน
ขอความนั้น ๆ
4. ภาษาเขียน ผูเขียนไมมีโอกาสเปลี่ยนแปลงแกไขไดเมื่อเขียนเสร็จเรียบรอยแลว
แตภาษาพูดผูพูดมีโอกาสชี้แจงแกไขไดในตอนทาย