Page 80 - พท21001
P. 80

74

                         ไกออน            หมายถึง  คนที่ยังไมชํานาญในชั้นเชิง

                         กิ่งทองใบหยก       หมายถึง  ความเหมาะสมของคูกันนั้นมีมาก

                         เกลือจิ้มเกลือ     หมายถึง  มีความดุรายเขาหากัน  แกเผ็ดกัน

                         แกวงเทาหาเสี้ยน  หมายถึง  การหาเรื่องเดือดรอน

                         ขิงก็ราขาก็แรง    หมายถึง  ตางฝายก็รายเขาหากัน
                         แขวนนวม            หมายถึง  เลิกการกระทําที่เคยทํามากอน


                         คว่ําบาตร          หมายถึง  การบอกปฏิเสธไมคบคาสมาคมดวย
                         คมในฝก            หมายถึง  มีความฉลาดรอบรูแตยังไมแสดงออก

                                                       เมื่อไมถึงเวลา

                         งามหนา            หมายถึง  นาขายหนา

                         งูกินหาง           หมายถึง  เกี่ยวโยงกันเปนทอดๆ

                         จนตรอก             หมายถึง  หมดหนทางที่จะหนีได

                         จระเขขวางคลอง  หมายถึง  คอยกีดกันไมใหคนอื่นทําอะไรไดสะดวก

                         ชักหนาไมถึงหลัง  หมายถึง  รายไดไมพอจับจาย

                         ชุบมือเปบ         หมายถึง  ฉวยผลประโยชนจากแรงงานคนอื่น

                         หญาปากคอก         หมายถึง  เรื่องงายๆ คิดไมถึง

                                                                                                   ิ
                       2. คําพังเพย หมายถึง ถอยคําที่กลาวขึ้นมาลอย ๆ เปนกลาง ๆ มีความหมายเปนคตสอนใจ
               สามารถนําไปตีความแลวนําไปใชพูด หรือเขียนใหเหมาะสมกับเรื่องที่เราตองการสื่อสารความหมายได

               มีลักษณะคลายคลึงกับสุภาษิตมาก อาจเปนคํากลาวติ ชม หรือแสดงความคิดเห็น  เชน

                         รําไมดีโทษปโทษกลอง   หมายถึง  คนที่ทําอะไรผิดแลวมักกลาวโทษสิ่งอื่น

                         ขี่ชางจับตั๊กแตน        หมายถึง  การลงทุนมากเพื่อทํางานที่ไดผลเล็กนอย

                         ชี้โพรงใหกระรอก        หมายถึง  การแนะนําใหคนอื่นทําในทางไมดี

                         เสียนอยเสียยาก        หมายถึง  การไมรูวาสิ่งไหนจําเปนหรือไมจําเปน

                         เสียมากเสียงาย                    ใชจายไมเหมาะสม
                                      ี้
                                                                          ั้
                       คําพังเพยเหลานยังไมเปนสุภาษิตก็เพราะวา การกลาวนนยังไมมีขอยุติวาเปนหลักความจริง
               ที่แนนอน ยังไมไดเปนคําสอนที่แทจริง
                       3. สุภาษิต  หมายถึง  คํากลาวดี คําพูดที่ถือเปนคติ เพื่ออบรมสั่งสอนใหทําความดี

               ละเวนความชั่ว สุภาษิตสวนใหญมักเกิดจากหลักธรรมคําสอน นิทานชาดก เหตุการณ หรือ

               คําสั่งสอนของบุคคลสําคัญ ซึ่งเปนที่เคารพนับถือ เลื่อมใสของประชาชน ตัวอยางเชน
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85