Page 81 - พท21001
P. 81

75

                              ตนแลเปนที่พึ่งแหงตน               ทําดีไดดีทําชั่วไดชั่ว

                              ใจเปนนายกายเปนบาว                ที่ใดมีรักที่นั่นเปนทุกข

                              หวานพืชเชนไรยอมไดผลเชนนั้น     ความพยายามอยูที่ไหนความสําเร็จอยูที่นั่น

                                                           ฯลฯ


                       ตัวอยางการนําคําพังเพยไปใชในความหมายเปรียบเทียบ

                       เมื่อกอนนี้ดูไมคอยสวย เดี๋ยวนี้แตงตัวสวยมากนี่แหละ ไกงามเพราะขน คนงานเพราะแตง

                       เจามันฐานะต่ําตอยจะไปรักลูกสาวคนรวยไดยังไง ตักน้ําใสกะโหลกชะโงกดูเงา ตนเอง

               เสียบาง

                       เราอยาไปทําอะไรแขงกับเขาเลย เขากับเราไมเหมือนกัน อยาเห็นชางขี้ขี้ตามชาง

                                 ี
                       ั
               แหม...ฉนวาฉันหนจากเพื่อนเกาที่เลวแลวมาเจอเพื่อนใหมก็พอ ๆ  กัน  มันเขาตํารา  หนีเสือ
               ปะจระเข

                       เขาชอบถวงความเจริญของหมูคณะอยูเรื่อย  แถมยังขัดขวางคนอื่นอีกนแหละ  คนมือ
                                                                                            ี่
               ไมพาย  เอาเทาราน้ํา

                                                                              ึ่
                       4  อุปมาอุปไมย  หมายถึง  ถอยคําที่เปนสํานวนพวกหนง  กลาวทํานองเปรียบเทียบ
               ใหเห็นจริงเขาใจแจมแจงชดเจน  และสละสลวยนาฟงมากขึ้น  การพูดหรือการเขียนนิยมหาคํา
                                         ั
                                                               
                                                                                
                                                                 
               อุปมาอุปไมยมาเติมใหไดความชดเจนเกิดภาพพจน  เขาใจงาย  เชน  คนดุ  หากตองการให
                                              ั
                                    
               ความหมายชดเจน  นาฟง  และเกิดภาพพจนชดเจนก็ตองอุปมาอุปไมยวา  “ดุ  เหมือน  เสือ”
                                                          
                                                            ั
                            ั
               ขรุขระมาก การสื่อความยังไมชัดเจนไมเห็นภาพ ตองอุปมาอุปไมยวา “ขรุขระเหมือนผิวมะกรูด”
               หรือ  “ขรุขระเหมือนผิวพระจันทร”  ก็จะทําใหเขาใจความหมายในรูปธรรมชัดเจนมากยิ่งขึ้น
                       ในการเขียนบทรอยแกวหรือรอยกรองก็ตาม  เราไมอาจเขียนใหละเอียดลึกซึ้ง  เพื่อสื่อ

                                                                                  
               ความไดแจมแจงเทากับการพูดบรรยายดวยตนเองได  ก็จําเปนตองใชอุปมาเพื่อเปรียบเทียบให
               ผูรับสารจากเราไดรับรูความจริง  ความรูสึก  โดยการใชคําอุปมาเปรียบเทียบ  ในการแตงคํา
                                                                      
                                
                           ิ
                                                                       
               ประพันธก็นยมใชอุปมากันมากเพราะคําอุปมาอุปไมยจะชวยตกแตงถอยคําสํานวนการเขียนให
               ไพเราะนาอาน กินใจ ประทับใจมากขึ้น สังเกตการใชอุปมาอุปไมยเปรียบเทียบในตัวอยางตอไปนี้
                       ทานจะไปทัพครั้งน อยาเพิ่งประมาทดูแคลนเลาป ดวยเลาปไดขงเบงมาไวเปนที่ปรึกษา
                                         ี้
               อุปมา เหมือนเสืออันคะนองอยูในปาใหญ ทานเรงระวังตัวจงดี


                       ตัวอยางอุปมาที่ควรรูจัก

                       แข็งเหมือนเพชร                      กรอบเหมือนขาวเกรียบ
                       กลมเหมือนมะนาว                      กลัวเหมือนหนูกลัวแมว
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86