Page 86 - พท21001
P. 86

80

               เรื่องที่ 4 หลักการและแนวทางการพิจารณาวรรณคดี

                                                                                              ึ่
                       การพิจารณาวรรณคดี คือ การแสดงขอคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดีเลมใดเลมหนงอยางสั้น ๆ
                                              ั้
                                                                  ื้
               โดยมีเจตนาจะแนะนําวรรณคดีนนใหผูอานรูจักวามีเนอเรื่องอยางไร มีประโยชนมีคุณคาอยางไร
                                                              ั้
               ผูพิจารณามีความคิดเห็นอยางไรตอวรรณคดีเรื่องนน ๆ ชอบหรือไมชอบ เพราะเหตุใด มีลักษณะ
               การวิจารณวรรณกรรม


                       หลักการพิจารณาวรรณคดี

                       1. แยกองคประกอบของหนังสือหรือวรรณคดีที่จะวิจารณใหได

                       2. ทําความเขาใจองคประกอบที่แยกออกมาใหแจมแจงชัดเจน

                       3. พิจารณาหรือวิเคราะหหนังสือหรือวรรณคดีตามหัวขอตอไปนี้

                              3.1 ประวัติความเปนมาและประวัติผูแตง

                              3.2 ลักษณะการประพันธ

                              3.3 เรื่องยอ

                              3.4 การวิเคราะหเรื่อง

                              3.5 แนวคิดและจุดมุงหมายในการแตง

                              3.6 คุณคาดานตาง ๆ

                       การพินิจคุณคาวรรณคดีและวรรณกรรมมี 4 ประเด็นดังนี้

                       1. คุณคาดานวรรณศิลป คือ ความไพเราะของบทประพันธ ซึ่งอาจจะเกิดจากรสของคํา

               ที่ผูแตงเลือกใชและรสความไพเราะที่ใหความหมายกระทบใจผูอาน
                                      ื้
                       2. คุณคาดานเนอหา คือ การใหความรูสึกในดานตาง ๆ ใหคุณคาทางปญญาและความคิด
               แกผูอาน

                       3. คุณคาดานสังคม วรรณคดีและวรรณกรรมสะทอนใหเห็นภาพของสังคมในอดีตและ

               วรรณกรรมที่ดีสามารถจรรโลงสังคมไดอีกดวย

                                              
                                                  ี
                               ํ
                                                                                                    ี
                       4. การนาไปประยุกตใชในชวิตประจําวัน เพื่อใหผูอานไดประจักษในคุณคาของชวิตได
                                                                                       ํ
                                                              ํ
                                                                    
                                                                               ิ
               ความคิดและประสบการณจากเรื่องที่อาน และนาไปใชในการดําเนนชีวิต นาไปเปนแนวปฏิบัติ
               หรือแกปญหารอบ ๆ ตัว

                       แนวทางในการพินิจวรรณคดีและวรรณกรรม
                       การพินจวรรณคดและวรรณกรรมมีแนวใหปฏิบัติอยางกวาง ๆ เพื่อใหครอบคลุมงานเขยน
                                                                                                       ี
                             ิ
                                       ี
                                                 ิ
                                                     ั
                               ิ
               ทุกชนิด ซึ่งผูพินจจะตองดูวาจะพินจหนงสือชนิดใด มีลักษณะเฉพาะอยางไร ซึ่งจะมีแนวในการ
               พินิจที่จะตองประยุกตหรือปรับใชใหเหมาะสมกับงานเขียนนั้น ๆ
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91