Page 85 - พท21001
P. 85

79

               เรื่องที่ 3 วรรณกรรมทองถิ่น

                                                                                                 ั่
                       วรรณกรรมทองถิ่น หมายถึง เรื่องราวของชาวบานที่เลาสืบตอกันมาหลายชวอายุคน
                                                                                                
                                                          ื่
               ทั้งการพูดและการเขียนในรูปของคติ ความเชอ และประเพณี การแสดงออกในการใชถอยคําที่มี
               หลากหลายรูปแบบ เชน นทานพื้นบาน เพลงกลอมเด็ก ปริศนาคําทาย ภาษิต คําคม บทเทศน
                                     
                                         ิ
               และคํากลาวในพิธีกรรมตาง ๆ


                       ลักษณะของวรรณกรรมทองถิ่น

                       1. วรรณกรรมทองถิ่น โดยทั่วไปมีวัดเปนศูนยกลางเผยแพรกวีผูประพันธ สวนมาก คือ

               พระภิกษุ และชาวบาน

                       2. ภาษาที่ใชเปนภาษาถิ่น ใชถอยคําสํานวนที่เรียบงาย ชาวบานทั่วไปรูเรื่องและใช
                                    
                                                    
               ฉันทลักษณที่นิยมในทองถิ่นนั้นเปนสําคัญ

                       3. เนอเรื่องสวนใหญเปนเรื่องจักร ๆ วงศ ๆ มุงความบันเทิงและสอดแทรกคติธรรมทาง
                            ื้
               พุทธศาสนา

                                                              
                       4. ยึดคานยมและปรัชญาพุทธศาสนา เชน กฎแหงกรรม หรือธรรมะยอมชนะอธรรม
                                 ิ
               เปนตน


                       ประเภทวรรณกรรมทองถิ่น

                       วรรณกรรมทองถิ่นแบงไดเปน 2 ประเภทคือ

                       1. ประเภทมุขปาฐะ เปนวรรณกรรมที่ไมไดเขียนเปนลายลักษณอักษรเปนวรรณกรรม

               ปากเปลา ถายทอดโดยการบอกหรือการเลาหรือการรอง ไดแก บทกลอมเด็ก นทานพื้นบาน
                                                                                             ิ
               ปริศนาคําทาย ภาษิต

                                                                   ิ
                       2. ประเภทเขียนเปนลายลักษณอักษร ไดแก นทาน คํากลอน บันทึกทางประวัติศาสตร
               ในทองถิ่น และตําราความรูตาง ๆ


                       คุณคาของวรรณกรรมทองถิ่น

                       1. คุณคาตอการอธิบาย ความเปนมาของชุมชนและเผาพันธุ

                       2. สะทอนใหเห็นโลกทัศนและคานิยมตาง ๆ ของแตละทองถิ่นโดยผานทางวรรณกรรม

                                                                                   ํ
                       3. เปนเครื่องมืออบรมสั่งสอนจริยธรรมของคนในสังคมสามารถนาไปประยุกตใชในสังคม
                                                                                                  
               ปจจุบันได

                                                                                             ี
                       4. เปนแหลงบันทึกขอมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณี และการดําเนนชวิตของคนใน
                                                                                          ิ
               ทองถิ่น
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90