Page 88 - พท21001
P. 88

82

                       การเลือกใชคําเลียนเสียงธรรมชาติ

                       การเลือกใชคําไวพจนไดถูกตองตรงตามความหมาย

                                                                                                   ื่
                       การเรียบเรียงคํา คือ การจัดวางคําที่เลือกสรรแลวใหมาเรียงรอยกันอยางตอเนองตาม
               จังหวะ ตามโครงสรางภาษาหรือตามฉันทลักษณ ซึ่งมีหลายวิธี เชน

                       จัดลําดับความคิดหรือถอยคําจากสิ่งสําคัญจากนอยไปหามาก จนถึงสิ่งสําคัญสูงสุด
                                                                 
                       จัดลําดับความคิดหรือถอยคําจากสิ่งสําคัญนอยไปหามาก แตกลับหักมุมความคิดผูอาน

               เมื่อถึงจุดสุด
                       จัดลําดับคําใหเปนคําถามแตไมตองการคําตอบหรือมีคําตอบอยูในตัวคําถามแลว

                       เรียงถอยคําเพื่อใหผูอานแปลความหมายไปในทางตรงขามเพื่อเจตนาเยาะเยย ถากถาง

                       เรียงคําวลี ประโยคที่มีความสําคัญเทา ๆ กัน เคียงขนานกันไป

                       การใชโวหาร คือ การใชถอยคําเพื่อใหผูอานเกิดจินตภาพเรียกวา “ภาพพจน” ซึ่งมี
                                               
                                                                                                   
               หลายวิธีที่ควรรูจัก ไดแก

                       อุปมา คือ การเปรียบเทียบสิ่งหนงวาเหมือนกับสิ่งหนง โดยมีคําเปรียบปรากฏอยูดวย
                                                                           ึ่
                                                       ึ่
               คําเปรียบเทียบเหลานี้ไดแก เหมือน ดุจ เลห เฉก ดัง กล เพียง ราว ปูน

                                                                                   ึ่
                       อุปลักษณ คือ การเนนความหมายวา สิ่งหนงเหมือนกับสิ่งหนงมากจนเหมือนกับเปน
                                            
                                                                  ึ่
               สิ่งเดียวกันโดยใชคําวา เปน กับ คือ เชน “แมเปนโสมสองหลา” สุจริตคือเกราะบังศาสตรพอง”

                       การพิจารณาวรรณคดีดานสังคม

                                             ุ
                       สังคม คือ ชนชาติและชมชนที่อยูรวมกันภายใตการปกครองในกรอบวัฒนธรรมเดียวกัน
               วรรณคดีเปนเหมือนกระจกเงาที่สะทอนใหผูอานสามารถมองเห็นชีวิตความเปนอยู คานยมและ
                                                                                                   ิ
               จริยธรรมของคนในสังคมที่วรรณคดีไดสะทอนภาพไวทําใหเขาใจชวิต เห็นใจความทุกขยากของ
                                                                              ี
               เพื่อนมนุษยดวยกันชัดเจนขึ้น

                       ดังนั้นการพิจารณาวรรณคดีดานสังคมจะตองมีเนื้อหา ภูมิปญญาที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมหรือ

               จริยธรรมของสังคมใหมีสวนกระตุนจิตใจของผูอานใหเขามามีสวนชวยเหลือในการจรรโลงโลกหรือ

               พัฒนาสังคมไทยรวมกัน โดยพิจารณาตามหัวขอดังนี้

                       1. การแสดงออกถึงภูมิปญญาและวัฒนธรรมของชาติ

                       2. สะทอนภาพความเปนอยู ความเชื่อ คานิยมในสังคม

                       3. ไดความรู ความบันเทิง เพลิดเพลินอารมณไปพรอมกัน

                                                                                                        ั
                       4. เนอเรื่องและสาระใหแงคิดทงคณธรรมและจริยธรรมในดานการจรรโลงสังคม ยกระดบ
                                                    ั้
                                                      ุ
                           ื้
               จิตใจเห็นแบบอยางการกระทําของตัวละครทั้งขอดีและขอควรแกไข
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93