Page 79 - พท21001
P. 79
73
ิ
5. การใชคําในภาษาเขียน ใชคํามาตรฐาน หรือภาษาแบบแผน ซึ่งนยมใชเฉพาะราชการ
และขอเขียนที่เปนวิชาการมากกวาภาษาพูด เชน
ภาษาเขียน – ภาษาพูด สุนข – หมา, กระบือ – ควาย, แพทย – หมอ, ภาพยนตร –
ั
หนัง, ถึงแกกรรม – ตาย, ปวดศีรษะ – ปวดหัว, เงิน – ตังค เปนตน
ึ่
6. ภาษาพูดมักจะออกเสียงไมตรงกับภาษาเขียน คือ เขียนอยางหนงแตเวลาออกเสียง
จะเพี้ยนเสียงไป และสวนมากจะเปนเสียงสระ เชน
ภาษาเขียน – ภาษาพูด หรือ – เหรอ, เรอะ, แมลงวัน – แมงวัน เปนตน
7. ภาษาพูด สามารถแสดงอารมณของผูพูดไดดีกวาภาษาเขียน เพราะภาษาพูดมีการเนน
เสียงสั้นยาว สูงต่ํา ไดตามความตองการ เชน
ภาษาเขียน – ภาษาพูด ตาย – ตาย, ใช – ชาย, ไป – ไป เปนตน
ิ
ิ
ั
8. ภาษาพูด นยมใชคําซ้ํา และคําซอน บางชนดชวยเนนความหมายของคําใหชดเจน
ยิ่งขึ้น เชน คําซ้ําดี๊ดี, อานเอิ่น, อาหงอาหาร, และคําซอน เชน คํามิดหมี, ทองหยอง, เดินเหิน
เปนตน
ิ
9. ภาษาพูดนยมใชคําชวยพูด หรือคําลงทาย เพื่อใหการพูดสุภาพ และไพเราะยิ่งขึ้น
เชน นั่งนิ่ง ๆ ซิจะ, จะไปไหนคะ, ไปตลาดคะ เปนตน
เรื่องที่ 6 การใชสํานวน สุภาษิต คําพังเพย
คนไทยนยมใชภาษาถอยคําสํานวนที่สละสลวย ไพเราะ เสนาะหู และสะดวกแกการ
ิ
ิ
ออกเสียง ลักษณะนสัยคนไทยเปนคนเจาบทเจากลอน เวลาพูดหรือเขียนจึงนยมใชถอยคํา
ิ
ั
สํานวนปนอยูเสมอ คําสํานวนตาง ๆ เหลานชวยใหการสื่อสารมีความหมายชดเจน ไดความ
ี้
ไพเราะ ถายทอดอารมณความรูสึกไดดี บางครั้งใชเปนการสื่อความหมายเพื่อเปรียบเปรยได
อยางคมคายลึกซึ้ง เหมาะสมกับวัฒนธรรมความเปนอยูของคนไทย ซึ่งแสดงถึงอัธยาศัยที่ดีตอ
คนอื่นเปนพื้นฐาน
ประเภทของถอยคําสํานวน
1. ถอยคําสํานวน เปนสํานวนคําที่เกิดจากการผสมคําแลวเกิดเปนคําใหม เชน คําผสม
คําซอน หรือคําที่เกิดจากการผสมคําหลายคํา ผสมกันเปนลักษณะสัมผัส คลองจอง มีความหมาย
ไมแปลตรงตามรูปศัพท แตมีความหมายในเชิงอุปไมย เชน