Page 43 - เศรษฐกิจต้นnew.indd
P. 43

36



                              ดังนั้น การปรับตัวตอกระแสโลกาภิวัตน  จึงจําเปนตองอาศัยการเรียนรูและการยืนหยัด

                       อยูบนพื้นฐานของการพึ่งพาตนเองตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อสราง


                       ศักยภาพการดําเนินธุรกิจเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน และสรางภูมิคุมกันตอผลกระทบ

                       จากสภาพแวดลอมภายนอก ในบริบทของความเชื่อมั่นตอการนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

                       ไปใชในองคกรจากประเด็นตางๆ ไดแก เศรษฐกิจพอเพียงใชไดผลดีเฉพาะในภาคเกษตร


                       เศรษฐกิจพอเพียงคือการประหยัดและไมเปนหนี้ การแสวงหากําไรขัดกับปรัชญาของเศรษฐกิจ

                       พอเพียง และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไมเหมาะสมกับธุรกิจในยุคโลกาภิวัตน  เมื่อพิจารณา


                       จากแนวคิด หลักการ และองคประกอบตางๆ ของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถ

                       อธิบายในประเด็นดังกลาว ดังนี้

                              เนื่องจากปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไดนําไปประยุกตใชกับภาคเกษตรในระยะแรก


                       เพราะมีความขัดสนสูงกวาภาคอื่นๆ ทําใหเกิดความเขาใจผิดวา เศรษฐกิจพอเพียงใชไดผลดี

                       เฉพาะภาคเกษตรเทานั้น ซึ่ง ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล (2549: 286) ไดอธิบายวา “เศรษฐกิจ

                       พอเพียงมิไดจํากัดเฉพาะของเกษตรกรหรือชาวไรชาวนาเพียงเทานั้น แตเปนเศรษฐกิจของ


                       ทุกคนทุกอาชีพ ทั้งที่อยูในเมืองและอยูในชนบท เชน ผูที่เปนเจาของโรงงานอุตสาหกรรมและ

                       บริษัทในระบบเศรษฐกิจพอเพียง ถาจะตองขยายกิจการเพราะความเจริญเติบโตของเนื้องาน


                       โดยอาศัยการขยายตัวอยางคอยเปนคอยไป หรือหากจะกูยืมก็กระทําตามความเหมาะสม ไมใช

                       กูมาลงทุนจนเกินตัวจนไมเหลือที่มั่นใหยืนอยูได ตองรูจักใชจาย ไมฟุมเฟอยเกินตัว” อยางไร


                       ก็ตาม เมื่อพิจารณาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทั้งในดานองคประกอบและเงื่อนไข

                       จะเห็นไดวา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนําไปใชไดในทุกระดับและประกอบ

                       อาชีพไดในทุกสาขาไมจํากัดเฉพาะภาคเกษตร การประยุกตใชกับภาคธุรกิจและภาคเศรษฐกิจ


                       อื่นๆ มีความสําคัญมาก เนื่องจากแนวโนมสังคมไทยเปนสังคมเมืองมากขึ้น และการผลิตของภาค

                       ธุรกิจมีสัดสวนสูงมาก หากภาคธุรกิจไมใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปนแนวทางแลว ยากที่

                       จะเกิดความพอเพียง (ณัฏฐพงศ ทองภักดี, 2550: 18)


                              ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนําทางการบริหารธุรกิจ โดยไมปฏิเสธระบบ

                       การตลาด แตเปนเครื่องชี้นําการทํางานของกลไกตลาดใหมีเสถียรภาพดีขึ้น และไมขัดกับ



                                                                     เศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น  :  ทช21001  43
                                                                                          ส�ำนักงำน กศน.จังหวัดกำฬสินธุ์
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48