Page 44 - ภาษาไทย ประถมศึกษา.indd
P. 44

41

             เรื่องที่ 3 เครื่องหมายวรรคตอนและอักษรยอ

                    3.1 เครื่องหมายวรรคตอน


                           การใชเครื่องหมายในภาษาไทย นอกจากจะเขาใจในเรื่องการเวนวรรคตอนแลว
             ยังมีเครื่องหมายอื่น ๆ อีกมากทั้งที่ใชและไมคอยไดใช ไดแก






                              เครื่องหมาย                             วิธีการใช


                   1.            จุลภาค         ใชคั่นระหวางคํา หรือคั่นกลุมคํา หรือคั่นชื่อเฉพาะ

                                                 เชน ดี , เลว

                   2.            มหัพภาค        ใชเขียนจบขอความประโยค และเขียนหลังตัวอักษรยอ

                                                 หรือตัวเลขหรือกํากับอักษรขอยอย เชน มี.ค. , ด.ช. ,

                                                 1. นาม , ก.คน ข.สัตว , 10.50 บาท , 08.20 น.

                   3.       ?     ปรัศนี         ใชกับขอความที่เปนคําถาม เชน ปลาตัวนี้ราคาเทาไร?


                   4.       !      อัศเจรีย     ใชกับคําอุทาน หรือขอความที่แสดงอารมณตาง ๆ เชน

                                                 อุยตายตาย! พุทธโธเอย! อนิจจา!

                   5.      ( )  นขลิขิต          ใชคั่นขอความอธิบายหรือขยายความขางหนาให
                                                 แจมแจง เชน นกมีหูหนูมีปก (คางคาว) ธ.ค.


                                                 (ธันวาคม)
                   6.      ___  สัญประกาศ        ใชขีดใตขอความสําคัญ หรือขอความที่ใหผูอานสังเกต

                                                 เปนพิเศษ เชน งานเริ่มเวลา 10.00 น.

                   7.     “  ”  อัญประกาศ        ใชสําหรับเขียนครอมคําหรือขอความ เพื่อแสดงวา

                                                 ขอความนั้นเปนคําพูดหรือเพื่อเนนความนั้นใหเดนชัด

                                                 ขึ้น เชน “พูดไปสองไพเบี้ย  นิ่งเสียตําลึงทอง”

                   8.       –     ยัติภังค      ใชเขียนระหวางคําที่ เขียนแยกพยางคกันเพื่อใหรู

                                                 พยางคหนากับพยางคหลังนั้นติดกันหรือเปนคํา

                                                 เดียวกัน คําที่เขียนแยกนั้นจะอยูในบรรทัดเดียวกัน

                                                 หรือตางบรรทัดกันก็ได เชน ตัวอยางคําวา  ฎีกา ใน

                                                 กรณีคําอยูในบรรทัดเดียว เชน คําวา สัปดาห อานวา

                                                 สับ - ดา




             44   ภาษาไทย ระดับประถมศึกษา  :  พท11001
                  ส�ำนักงำน กศน.จังหวัดกำฬสินธุ์
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49