Page 119 - ArduinoและPOP-BOT
P. 119

 119




                                                      

                                                                      






                                                      
                                                         

                                            
                                             



                                                     

                                                     
                                                     


               รู ปที่  11-3 โครงสร างภายในของเซอร โวมอเตอร


                       การหมุ นของมอเตอร ได รั บการควบคุ มจากวงจรควบคุ ม โดยมี  POT เป นตั วกํ าหนดขอบเขตของแกนหมุ น

               ซึ่ งหากไม มี การปรั บแต งใดๆ แกนหมุ นของมอเตอร จะสามารถหมุ นได ในขอบเขต 0 ถึ ง 180 องศา ดั งนั้ นในการปรั บ
               แต งให เซอร โวมอเตอร สามารถขั บแกนหมุ นได รอบตั วจึ งมั กจะใช วี การถอด POT ออก แล วแทนที่ ด วยตั วต านทานค า
               คงที่  2 ตั ว หรื อดั ดแปลงให แกนหมุ นของ POT สามารถหมุ นได รอบตั ว

                       แกนหมุ นของเซอร โวมอเตอร จะมี ส วนปลายเป นร องเฟ อง (spline) เพื่ อให สามารถติ ดตั้ งอุ ปกรณ ที่ ใช ในการ

               เชื่ อมโยงไปยั งตั วขั บหรื อกลไกอื่ นๆ อุ ปกรณ ที่ ใช เชื่ อมโยงนั้ นเรี ยกว า ฮอร น (horn) ซึ่ งมี ด วยกั นหลายรู ปแบบทั้ งแบบ
               เป นแขน, เป นแท ง, กากบาท, แผ นกลม เป นต น สํ าหรั บร องเฟ องของเซอร โวมอเตอร แต ละยี่ ห อก็ มี จํ านวนไม เท ากั น

               โดยของ Hitec จะมี  24 ร องเฟ อง ส วนของ Futaba มี   25 ร องเฟ อง ทํ าให ฮอร นของทั้ งสองยี่ ห อใช ร วมกั นไม ได
               11.1.3 สั ญญาณพั ลส สํ าหรั บควบคุ มเซอร โวมอเตอร


                       การควบคุ มเซอร โวมอเตอร ทํ าได โดยการสร างสั ญญาณพั ลส ป อนให กั บวงจรควบคุ มภายในเซอร โวมอเตอร  ดั งใน
               รู ปที่  11-4 เริ่ มต นให สร างพั ลส คาบเวลา 20 มิ ลลิ วิ นาที  แล วปรั บความกว างของพั ลส ช วงบวก โดยพั ลส กว าง 1 มิ ลลิ วิ นาที

               มอเตอร จะหมุ นไปตํ าแหน งซ ายมื อสุ ด ถ าส งพั ลส กว าง 1.5 มิ ลลิ วิ นาที  แกนหมุ นของมอเตอร จะเคลื่ อนที่ ไปยั งตํ าแหน ง
               กึ่ งกลาง และถ าส งพั ลส กว าง 2 มิ ลลิ วิ นาที  แกนหมุ นของมอเตอร จะเคลื่ อนที่ ไปยั งตํ าแหน งขวามื อสุ ด

                       การป อนสั ญญาณพั ลส ที่ มี คาบเวลาช วงบวกตั้ งแต  1.5 ถึ ง 2 มิ ลลิ วิ นาที จะทํ าให เซอร โวมอเตอร หมุ นทวน
               เข็ มนาฬิ กา โดยถ าค าความกว างพั ลส ยิ่ งห างจาก 1.5 มิ ลลิ วิ นาที มากเท าใด ความเร็ วในการหมุ นก็ จะมากขึ้ นเท านั้ น

               นั่ นคื อ ความเร็ วสู งสุ ดของการหมุ นทวนเข็ มนาฬิ กาจะเกิ ดขึ้ นเมื่ อสั ญญาณพั ลส ควบคุ มที่ ความกว าง 2 มิ ลลิ วิ นาที

                       การป อนสั ญญาณพั ลส ที่ มี คาบเวลาช วงบวกตั้ งแต  1 ไปจนถึ ง 1.5 มิ ลลิ วิ นาที  ทํ าให เซอร โวมอเตอร หมุ น
               ตามเข็ มนาฬิ กา ซึ่ งถ าค าความกว างพั ลส เข าใกล  1 มิ ลลิ วิ นาที ความเร็ วในการหมุ นของเซอร โวมอเตอร ก็ จะมาก
               นั่ นคื อ ความเร็ วสู งสุ ดของการหมุ นตามเข็ มนาฬิ กาจะเกิ ดขึ้ นเมื่ อสั ญญาณพั ลส ควบคุ มที่ ความกว าง 1 มิ ลลิ วิ นาที
   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124