Page 10 - BookHISTORYFULL.indb
P. 10
�
การเรียนรู้ประวัติศาสตร์” สาหรับใช้ประกอบการอบรมครผู้สอนวิชาประวัติศาสตร์ถือเป็น
ู
งานเขียนที่รวบรวมมาตั้งแต่ ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ โดยให้หลักคิดและหลักการส�าคัญ (Concept)
ทางประวัติศาสตร์ ซึ่งเรียบเรียงและรวบรวมความรู้ความเข้าใจจากหนังสือประวัติศาสตร์
ี
ี
ึ
ท่เขียนข้นโดยผู้ทรงคุณวุฒิทางประวัติศาสตร์ไทย ท่ได้รับการยอมรับในความสามารถ
จากวงการประวัติศาสตร์ เช่น ดร.นิธิ เอียวศรีวงศ์ จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ศาสตราจารย์
ดร.แถมสุข นุ่มนนท์ ดร.วินัย พงศ์ศรีเพียร จากมหาวิทยาลัยศิลปากร ดร.วงเดือน นาราสัจจ์
ี
ื
จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร และความรู้พ้นฐานจากการท่ผู้เขียน
ได้เรียน เรื่อง “ปรัชญาประวัติศาสตร์” ในระดับปริญญาโท จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ซึ่งท่านท่สนใจสามารถตรวจสอบหรือสืบค้นความรู้เพ่มเติมได้ จากบรรณานุกรม
ี
ิ
�
้
ื
ี
ท้ายเอกสารน ในการน้ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นพ้นฐานขอขอบคุณอาจารย์
ั
ี
ระวิวรรณ ภาคพรต ที่ได้อุทิศเวลาให้กับการพัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์มาตลอดชีวิต
ราชการ ซึ่งเป็นแบบอย่างที่ดีของข้าราชการผู้หนึ่ง
ั
ี
ส่วนท่๔ เป็นประสบการณ์การจัดการเรียนรู้ของคุณครูผู้มีความมุ่งม่น
ในการพัฒนาด้านการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ และได้ส่งเอกสารสรุปผลการจัด
�
การเรียนรู้ของตนเองมาให้สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นพ้นฐานพิจารณา ต่อมา
ั
ื
ได้มีการจัดประชุมปฏิบัติการ โดยเชิญคุณครูและผู้ท่เก่ยวข้องเพ่อมาเขียนขยายรายละเอียด
ื
ี
ี
การจัดการเรียนรู้ดังกล่าว ดังรายละเอียดในเอกสารการสอนประวัติศาสตร์ส่วนน้ ส่วนหน่ง
ี
ึ
�
ได้นาเสนอในหน้าหนังสือพิมพ์ในช่วงก่อนวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต ์ ิ
พระบรมราชินีนาถ ปี พ.ศ ๒๕๕๕ อย่างไรก็ตามในกระบวนการจัดการเรียนรู้เองก็ยังมี
ั
ี
ประเด็นท่ต้องปรับปรุงและพัฒนาต่อเน่องอีกมาก มิได้เป็นแบบอย่างได้เสียท้งหมด
ื
หากแต่เป็นฐานส�าคัญส�าหรับการพัฒนาต่อไป
8