Page 249 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 249
เนื้อความที่ ๒๐
แล ๒ หาญตนกล้าก็ยอขันยก ๒ นางบุตตาได้นางสุคันธา บุตตาเจ้าหาญฅำลือ แลได้นางสรีปิมปา บุต
ตาเจ้าหาญคงเสนขึ้นนั่งผาสาดแกววิวาหะ ฅำร่วมไขว่ขันผีปู่ย่าพระญาเจ้า กาละนั้นตนพระญาช้าง
้
เวียงลับแลงไจยตนเป็นใหญ่ในจุมปูหล้า ก็ทะรงยุรยาตรลีลาสรเดดมายังแหย่งฅำหลังช้างปู้ลวงฅำ ตน
็
ทะรงเครื่องสะง้าอะลังกานสุบกะจุมหัวฅำแก้วน้ำแดงก้อแวดกุมดาบเถี่ยนกล้าสรกัญไจยฝักฅำ สุบ
ี
เกิบฅำงวงงอนตนทะรงผ้านุ่งตุ้มงามอย่างวิเสกสีขาวปอนปองาม ป๊าดสายสะเทิ้มสร้อยตัวสังวาล แล
เครื่องค้าวมาวจ๋าวแขนสุมแหวนธำมะรงวงใส สอดคลานฅำขะจอรหู งามดั่งองค์อินตาเรืองธิราชสะ
เด็จบนหลังพญาช้างเอราวัณลอยเฟือนไหวมาในผาสาดฅำเวียงบนชั้นฟ้าตาวะติงสา นั้นแล
เป็นการกล่าวถึงหาญคำลือ มีธิดา (ลูกสาว) ชื่อ นางสุคันธา กับหาญคงเสน มีธิดา (ลูกสาว) ชื่อ นาง
ิ
สรีปิมปา (ศรีพิมพา) ได้ถวายธิดาของตนให้เป็นข้าบาทบริจาริกาในพระญาตโลกราช ในขณะนั้นพระญาตโลก
ิ
ราชได้เสด็จมาบนหลังช้างแต่งพระองค์อย่างอลังการ สวม “กะจุม” หรือ ขะโจม ที่แปลว่ายอดพระเศียรเป็น
เครื่องทองแกมแก้ว ถือ “ดาบเถี่ยนกล้าสรีกัญไจยฝักฅำ” คือ พระแสงอาญาสิทธิ์ประจำพระองค์ สวม “เกิบฅำ
งวงงอน” คือ ฉลองพระบาทปลายงอน นุ่งผ้าสีขาวประดบด้วยสร้อยสังวาล เครื่องประดับที่แขน สวมพระธำ
ั
มะรงค์ (แหวน) ทองคำ ใส่ “คลานฅำขะจอรหู” คือ เครื่องประดับพระกรรณ (หู) เปรียบเทียบว่างามด่งพระ
ั
อินทร์พระทับบนช้างเอราวัณที่อยู่บนสวรรค์ชั้นดาวดึงษ์
ิ
ั่
การแต่งฉลองพระองค์ของพระญาติโลกราช ในตำนานพระเจ้ายอดคำทพย์ทบอกว่า “งามดงองคอิน
ี่
์
ตาเรืองธิราชสะเด็จบนหลังพญาช้างเอราวัณลอยเฟือนไหวมาในผาสาดฅำเวียงบนชั้นฟ้าตาวะติงสา” เมื่อ
เปรียบเทียบข้อความใน ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ตอนหนึ่งใน พ.ศ. ๒๐๐๙ (จ.ศ. ๘๒๘) ที่บอกว่า “แล้วจิ่งหื้อ
เจ้าพระญาติโลกราชะขึ้นทรงสีวิกายฅำลูกชื่อปราบไตรจักร แลทรงเครื่องท้าวราชา สุบสอดมกุฏเภณีดวงชื่อ
พรหมเทส ทรงเครื่องประหนิมอาภอรณ์งามล้วนถ้วนชู่ประการ ขึ้นสู่ราชมนเทียรในบ้านสรีภูมิเหมือนด่งอิน
ั
ทาธิปติราชะขึ้นสู่เวไชยยันตปราสาทวันนั้นแล” ที่มีความบังเอิญที่ข้อมูลในเอกสารทั้งสองมีความคลายกัน
42
้
โดยเปรียบพระญาติโลกราชได้เสด็จประทับพระทับในสัปคัปบนหลังช้างพร้อมด้วยและฉลองพระองค์ (แตง
่
กาย) อย่างการเปรียบเทียบพระญาติโลกราชมีรูปโฉมดั่งพระอินทร์
ี่
หากเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นจริงควรเกิดขึ้นใน ปีมะโรง พ.ศ. ๒๐๐๓ (ปีกดสี จ.ศ. ๘๒๒) ขณะทพระญาต ิ
ี
โลกราชยกทัพไปตีเมืองพงในแคว้นสิบสองปันนา ฝ่ายอโยธยาได้ฉวยโอกาสยกทัพข้ามเขาพลึงเข้าตเมืองแพร่
หมื่นด้งนครแม่ทัพใหญ่ของล้านนาจึงยกทัพออกมาต้านไว้จนกระทั่งพระญาติโลกราชเสดจกลับมานำทัพจาก
็
เชียงใหม่เข้าช่วยตีทัพอโยธยาแตกถอยไป พระญาติโลกราชนำพลศึกไล่ตามแต่ไม่ทันจึงเปลี่ยนพระทัยไปต ี
เมืองเชลียง (เมืองศรีสัชนาลัย) เมื่อทัพหลวงไปถึงพระญาเชลียงกลัวพระราชอำนาจจึงยอมอ่อนน้อมต่อพระ
42 ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับ เชียงใหม่ ๗๐๐ ปี, ๒๕๓๙, หน้า ๗๗.
การวิเคราะห์วรรณกรรมเมืองลับแล
หน้า ๙๙