Page 247 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 247
ส่มป่อง” ไปยัง “นาป่าโป่งวัดเชตะวันริมตาฝั่งน้ำแม่กะเถิงยังข่วงอารามสายดือเวียง” แล้วไล่ขุดดินยัง
ั่
่
“ข่วงแก้ว” ก็ได้ “ได้ขะอูบฅำแก่นงามในจุธาตุเกลี้ยงขาวรดงเม็ดข้าว” จึงได้ให้มีการหลอพระพุทธรูปตาม
ี
นิมิต (ฝัน) แล้วกระทำบุญไปยังท้าวยี่กุมกาม แล้วพระญาติโลกราช “ได้ถอดเอาปิ่นมั่นเกล้ายอดฅำแก้วผะจำ
็
แดงดั่งเลือดนก ยอยกเอาถวายเป็นพระโมลียอดเกล้า ผะจุเอา ขะอูปพระธาตุก็สมเร็ดได้ในวันเป็งเตมดวง
ั่
ยามเช้า นั้นแล กันได้พระพิมพาสารูปพุทธเจ้าสมเรดงามดงใจหมาย จึ่งใส่ชื่อว่า พระยอดฅำติ๊บ” คอ ได ้
็
ื
นำเอาปิ่นทองคำถวายในการหล่อยอดพระเกศมาลา แล้วหล่อพระพุทธรุปสำเร็จในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เวลาเช้า จง
ึ
ื่
ได้ให้ชอพระพุทธรูปว่า “พระเจ้ายอดคำทิพย์” ที่หมายถึง พระพุทธรูปที่มียอดเป็นทองคำอันงาม
่
แล้วนำพระพุทธรูปขึ้นยังแท่นหลังช้าง เดินแห่ยัง “ข่วงอารามพิหารสายดือเวียง” ประชาชนตางชน
ื่
ชมยินดี แล้วพระญาติโลกราชได้ให้ชื่อเมือง (เวียง) นี้ใหม่ว่า “เวียงลับแลงไจย” หรือ “ลับแลงไชย” แล้วเสดจ
็
ประทับ “นั่งแท่นฅำเหลืองผาสาดเรืองฅำ เป็นพระญาตนเกล๊าแรกกมเวียง” คือ ทรงประทบบนบัลลงก์ใน
ั
ั
ุ
ั
ปราสาท เป็นพระญา (กษัตริย์) องค์แรกของเมืองนี้ แล้วจัดขบวน “ยกขัน” จาก “โฮงคำหลวง” มาสกการะ
พระเจ้ายอดคำทิพย์ ใน “สายดือพิหารอาราม” แล้วให้ชื่อใหม่ว่า “วัดลับแลงหลวง” หรือ “วัดหลวงไจย
เวียงแก้ว” แล้วพระญาติโลกราชได้รับสั่งให้สร้าง “หอฅำน้อยโฮงไชย” แล้วเชิญดวงวิญญาณพระญายี่กุม
กวามแก้ววงเมือง (ท้าวยี่กุมกาม) ให้เป็นอารักษ์เมืองคุ้มครองชาวเวียงสืบไป แล้วมีการกัลปนาชาวเวียง ๑๐
ครัวไว้เป็นข้าพระเจ้ายอดคำทิพย์
เนื้อความที่ ๑๗
ุ
็
ฝ่ายหมื่นด้ง เจ้าเมืองละกอร กุมช้างม้าเศิก แลเจ้าแก้วกุ้มหล้า แลพลเศิกชายหาญอันหลวงหลาย กกม
พลเข้านั่งเชลียงเวียงไธยใต้ได้เจ้าแก้วกุ้มหล้าตายคว่ำวำวายในเศิก ก็มีในวันนั้น ชะแล
เป็นการกล่าวถึงหมื่นด้งนคร ได้นำทัพจากบริเวณเมืองลับแลงไชยไปยึดเมืองเชลียง (เมืองศรีสัชนาลัย)
ี่
์
่
ตรงกับเหตุการณที่กลาวในตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ในปีร้วงไส้ (ปีมะเส็ง จ.ศ. ๘๒๓) พ.ศ. ๒๐๐๔ ทพระญา
้
เชลียงได้ชวนหมื่นด้งนครมาตีไก่ในเมืองเชลียง แต่หมื่นด้งนครได้ซ้อนแผนโดยการนำกำลังมาลอมเมืองเชลยง
ี
39
ไว้ แล้วเข้าไปกุมตัวพระญาเชลียงได้ส่งไปเมืองเชียงใหม่ ซึ่งไม่มีการรบกันแต่อย่างใด แต่ในตำนานพระเจ้า
้
ั
ยอดคำทิพย์กลบบอกว่า หมื่นด้งได้คุมชางม้า พร้อมด้วยเจ้าแก้วกุ้มหลา มารบกับเมืองเชลยง จนเจาแก้วกุ้ม-
้
้
ี
หล้าสิ้นชีวิตในสมรภูมิศึก
39 ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับ เชียงใหม่ ๗๐๐ ปี, ๒๕๓๙, หน้า ๗๒.
การวิเคราะห์วรรณกรรมเมืองลับแล
หน้า ๙๗