Page 27 - องค์ความรู้ ฉบับตีพิมพ์ จริง Ver1 (1)
P. 27
๑๕
อยุธยำ ดังนั้นอำหำรกำรกินส่วนมำกจะนิยมกินแบบไทย รวมถึงมีกำร
ผสมผสำนของชำวลำวพวน และชำวจีน จึงมีกำรวัฒนธรรมกำรกินที่
หลำกหลำย
“ข้าวแคบ”
ข้ำวแคบเป็นอำหำรที่ท ำจำกแป้ง
ข้ำวเจ้ำเป็นวัฒนธรรมผู้ภำษำตระกูลไท
ในอดีตเป็นวิธีกำรถนอมอำหำรอย่ำงหนึ่ง
ิ่
จะเป็นแผ่นสีขำวธรรมดำแล้วมำเพม
คุณค่ำทำงอำหำรโดยกำรใส่งำด ำเข้ำไป
ภำยหลังมีกำรพฒนำกำรรสชำติใส่พริก
ั
ิ่
ใส่น้ ำตำล ปรุงรสให้มีควำมอร่อยเพมขึ้น
ใส่สีสันจำกธรรมชำติให้ดูน่ำทำน
(รูปกำรท ำข้ำวแคบ:๒๔๗๙,เพจสยำมพหุรงค์)
ข้ำวแคบนิยมนิยมท ำกันเกือบทุกต ำบลในอ ำเภอลับแลโดยเฉพำะใน
เขตเทศบำลศรีพนมมำศ และต ำบลฝำยหลวง เรียกได้ว่ำแทบทุกหลังคำเรือน จน
เกิดเป็น “ถนนข้ำวแคบ” เส้นทำงท่องเที่ยวที่ส ำคัญอีกจุดหนึ่งของเมืองลับแล
ถือได้ว่าข้าวแคบเป็นอาหารพนบ้านยอดนิยมของชาวลับแลตั้งแต่
ื้
อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นภูมิปัญญาด้านอาหารที่สืบทอดกันมาตั้งแต่สมัยปู่ย่า
ตายาย จนมีเรื่องตลกซึ่งมักจะคุยกันในวงเหล้าว่าเมืองลับแลนั้นเต็มไปด้วย
ผู้ล่ายและผู้ต้องหา ซึ่งผู้ล่ายในที่นี้เป็นภาษาชาวบ้าน หมายถึงผู้ไล้ข้าวแคบ
(ผู้ไล้ข้าวแคบ หมายถึง คนที่ละเลงน้้าแป้งลงบนผ้าที่วางบนปากหม้อดินที่มี