Page 28 - องค์ความรู้ ฉบับตีพิมพ์ จริง Ver1 (1)
P. 28
๑๖
ไอน้้าเดือด) ส่วนใหญ่มักจะเป็นภรรยา ส่วนผู้ต้องหาหมายถึง สามี ที่มี
ั
้
หน้าที่ไปหาฟืนมาท้าข้าวแคบ ชาวบ้านในอาเภอลับแลเล่าให้ฟงว่า การท้า
ข้าวแคบนั้นมีมานานแล้ว แต่ไม่รู้ว่ามีมาตั้งแต่เมื่อใด ที่เรียกว่าข้าวแคบนั้น
เรียกตามลักษณะของปากหม้อที่ท้าข้าวแคบตอนไล้แป้งซึ่งมีลักษณะแคบ
แต่เดิมนั้นข้าวแคบมีอยู่ 2 ลักษณะ คือข้าวแคบธรรมดา และ ข้าวแคบงา
มีขนาดใหญ่และหนากว่าในปัจจุบัน ส่วนใหญ่ชาวลับแลจะเรียกกันว่า
“ข้าวแคบหนา” รสชาติออกเค็ม มีส่วนผสมแค่แป้ง เกลือ และงาด้าเท่านั้น
เวลาจะรับประทานข้าวแคบในสมัยก่อนจะน้าไปปิ้งไฟแล้วบดให้แตกเป็น
ชิ้นเล็กๆ (ภาษาบ้าน เรียกว่า “การเนียงข้าวแคบ”) ใส่ถ้วยรับประทาน
กับข้าวเหนียว เป็นอาหารที่รับประทานในหนึ่งมื้อได้เลย เหมือนกับกับข้าว
อย่างอน นอกจากนี้ยังสามารถน้าข้าวแคบที่เนียงแล้วมาใส่ในย้าใบมะม่วง
ื่
่
(ชาวลับแล เรียกว่า “ซ่ามะม่วง”) และแกงเลียง (ชาวลับแลเรียกว่า “ฮวม
ผัก”) ซึ่งเป็นอาหารพื้นบ้านของชาวลับแลได้อีกด้วย
ในสมัยก่อนชาวลับแลจะรับประทานข้าวแคบเป็นอาหารหลัก ต่าง
จากปัจจุบันที่บริโภคข้าวแคบเป็นอาหารว่างเป็นส่วนใหญ่ โดยเฉพาะข้าว
ี
แคบแห้ง และการรับประทานอกรูปแบบหนึ่งของคนลับแลสมัยก่อนคือการ
น้าข้าวเหนียวมาคลุกกับข้าวแคบที่เนียงแล้วปั้นให้เป็นแท่งเหมือนข้าวปั้น
บางคนเอาข้าวแคบแห้งมาห่อกับข้าวเหนียวร้อน ๆ ม้วนให้เป็นแท่ง
(ภาษาพื้นบ้านเรียกว่า “ข้าวโอ่โหล่”) ในสมัยก่อนมีการท้าข้าวแคบแทบทุก
หลังคาเรือน โดยเฉพาะในหน้าหนาวซึ่งเป็นหน้าเกี่ยวข้าว มีการท้าข้าวแคบ
จนเป็นประเพณี แต่ท้าได้ไม่เยอะจะท้าไว้เฉพาะกินในครัวเรือนเท่านั้น และ
นิยมท้าในลักษณะข้าวแคบแห้งเพราะเก็บไว้ได้นานหน้าฝนก็เก็บไว้ได้ท้า
แล้วจะเก็บใส่ในกะซ่า (“กะซ่า” เป็นภาษาพนบ้านมีความหมายเหมือนกับ”
ื้
ตะกร้า”) แขวนไว้ในที่สูงๆ เพราะกลัวลูกๆ แอบเอาไปกิน เวลาไปท้าไร่
ท้านา ก็เอาข้าวแคบที่เก็บไว้มาห่อกับข้าวเหนียวประมาณ 2-3 พน กินไป
ั