Page 29 - องค์ความรู้ ฉบับตีพิมพ์ จริง Ver1 (1)
P. 29
๑๗
ื่
ระหว่างทางเพอให้อมท้อง ไม่ต้องเสียเวลามานั่งกิน เพราะสมัยก่อนต้องตื่น
ิ่
เช้าเดินไปท้าไร่ ท้านา ไม่มีรถมอเตอร์ไซค์เหมือนในปัจจุบัน ซึ่งสะท้อนให้
เห็นถึงวิถีชีวิตที่เรียบง่ายและความสัมพนธ์ของคนในครอบครัว จึงสามารถ
ั
ู
พดได้ว่าการท้าข้าวแคบนั้นเป็นวิถีชีวิตของชาวลับแลตั้งแต่อดีตจนถึง
ปัจจุบัน
ชาวลับแลนิยมรับประทานอาหารพชผักที่ขึ้นเองตามธรรมชาติ
ื
อาจจะเป็นผักป่า หรือผักข้างรั้ว กินข้าวเหนียวเป็นอาหารเช้า กินก๋วยเตี๋ยว
เส้นหมี่ เป็นอาหารกลางวัน และกินข้าวเจ้าเป็นอาหารเย็น และนิยมปรุง
อาหารโดยไม่ใส่น้้าตาล มีรสเค็มน้าและเผ็ดเล็กน้อย ใช้กะทิปรุงน้อยกว่า
ภาคกลาง นิยมแกงแบบน้้าขลุกขลิกและน้้าพริกต่างๆ ก็ค่อนข้างแห้ง เพราะ
ลับแลรับประทานด้วยวิธีปั้นข้าวเหนียวเป็นก้อนเล็กๆ แล้วจิ้มลงไปในน้้า
แกง
“ข้าวแคบ” ที่เป็นอาหารพนบ้านของชาวลับแลนั้น มีเอกลักษณ์
ื้
เฉพาะตัว คือเป็นแผ่นแป้งบางๆ ที่ได้จากการไล้น้้าแป้งที่ผสมงาด้า เกลือ
หรือเครื่องปรุงรสอนๆ ลงบนผ้าที่วางบนปากหม้อดินขณะที่มีไอน้้าเดือด
ื่
เหมือนการท้าข้าวเกรียบปากหม้อ โดยแผ่นแป้งที่ได้มีลักษณะเป็นวงกลม มี
เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 7 นิ้ว ถึง 8 นิ้ว เมื่อแผ่นแป้งสุกแล้วสามารถ
ดัดแปลงท้าผลิตภัณฑ์ได้หลากหลาย อาทิเช่น ถ้าน้าแผ่นแป้งไปตากให้แห้ง
จะได้ “ข้าวแคบแห้ง” มีทั้งแบบธรรมดาและปรุงรส สามารถฉีก
รับประทานได้ทันทีเป็นอาหารว่าง หรือจะน้าไปห่อกับเส้นหมี่คลุกกับ
เครื่องปรุงรสที่ชาวลับแลเรียกว่า “หมี่พัน ”