Page 126 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 126
บทที่ 6 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนตามความสนใจพิเศษ 115
ด้านการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ั
จากการวิเคราะห์ศักยภาพในการพฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนในจังหวัดสนุก (สกลนคร -
นครพนม - มุกดาหาร) พบว่า มีโฮมสเตย์หลายแห่งที่ต้องการให้นักท่องเที่ยวเชิงจิตอาสารได้เข้าร่วมกัน
็
ั
จัดกิจกรรมพฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชน โดยต้องการอาสาสมัครเข้าไปท ากิจกรรมบ าเพญประโยชน์
ื่
ั
ื้
ื่
เกี่ยวกับการสอนภาษาองกฤษ เพอสนทนาพนฐานให้กับชาวบ้าน เพอใช้ในการต้อนรับแขกต่างประเทศ
ื้
ั
ั
พฒนาโฮมสเตย์ให้สามารถ รองรับมาตรฐานอาเซียน พฒนา Packaging ของสินค้าพนบ้าน และการสอน
หนังสือหรือท ากิจกรรม ร่วมกับหมู่บ้านชุมชน
บทสรุป
เนื้อหาของบทนี้ มุ่งให้นิสิตเกิดความเข้าใจถึงรูปแบบและกิจกรรมของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
ที่ให้ความส าคัญกับความสนใจของนักทองเที่ยวเป็นหลัก นักท่องเที่ยวในปัจจุบันมีความปรารถนาที่จะออก
่
ื่
เดินทางเพอค้นหาความหมายในชีวิต และอยากเดินทางกลับบ้านพร้อมกับความทรงจ า ประสบการณ์
ที่พิเศษ และประสบการณ์ที่ได้เรียนรู้จากการเดินทาง นักท่องเที่ยวในยุคนี้ จะให้ความสนใจกับ “กิจกรรม”
(Activity-Based) มากกว่าจุดหมายปลายทางที่จะเดินทางไป รูปแบบการท่องเที่ยวที่อธิบายข้างต้น
เกิดขึ้นจากความสนใจในการเดินทางที่มีจุดมุ่งหมายเฉพาะ ดังนั้น นักพฒนาการท่องเที่ยวควรตระหนักถึง
ั
การศึกษาความต้องการที่แท้จริงของนักท่องเที่ยวหรือนักเดินทาง เพอที่จะสามารถน าเสนอกิจกรรม
ื่
ผลิตภัณฑ์หรือบริการที่ตอบสนองต่อความต้องการเฉพาะของนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้ได้
ค าถามทบทวน
1) ให้นิสิตอธิบายคุณค่าของการท่องเที่ยวเชิงคุณภาพต่อประเทศไทยในมิติต่างๆ
2) ให้นิสิตยกตัวอย่างกิจกรรมการท่องเที่ยวในแต่ละรูปแบบ และร่วมกันอภิปรายว่ากิจกรรมที่
เกิดขึ้นเป็นไปตามแนวคิดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนหรือไม่?
เอกสารอ้างอิง
ั
พรรณี สวนเพลง (2559). การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงบ าเพ็ญประโยชน์ในกลุ่มจังหวดสนุก (สกลนคร-
นครพนม-มุกดาหาร). กรุงเทพฯ: ส านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
ราณี อิสิชัยกุล และคณะ. (2554). การท่องเที่ยวที่ไร้ความเร่งรีบเพื่อสร้างการเรียนรู้ผ่านการสื่อ
ความหมายส าหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวยุโรป. กรุงเทพฯ: ส านักงานกองทุนสนับสนุน
การวิจัย.
ส านักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2559) ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโอกาสที่พลาดไม่ได้, รายงาน
ภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว, 3(1), 30-43.
ู
ศูนย์วิจัยด้านตลาดการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2560). โครงการส ารวจข้อมลเพื่อการ
วิเคราะห์พฤติกรรมของนักท่องเที่ยวเชิงลึก. สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2562, จาก
https://tatreviewmagazine.files.wordpress.com /2017/09/db_tune-in.pdf
Aneksuk, B. (2017). Slow travel: A concept survey. Journal of Humanities and Social
Sciences, 8(1), 26-47.
Ardell, D. (1977). High level wellness: An alternative to doctors, drugs, and disease.
Emmaus, PA: Rodale Press.