Page 131 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 131
บทที่ 7 แนวคิดสิ่งแวดล้อมในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและจิตบริการ 120
บทที่ 7
แนวคิดสิ่งแวดล้อมในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและจิตบริการ
(Environmental Concept for Tourism and Hospitality Industry)
บทน า
สถานการณ์การเติบโตของการท่องเที่ยวทั่วโลกและในแถบเอเชีย ท าให้ประเทศไทยได้ประสบกับ
สภาวะแข่งขันทางการท่องเที่ยวสูงขึ้น จึงมีการน าแนวคิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมเข้ามาปรับใช้ในประเทศไทย
ื่
เพอให้ประเทศไทยสามารถยกระดับการท่องเที่ยวให้เป็นมาตรฐานสากล กล่าวคือ การมีแหล่งท่องเที่ยว
ั
ิ
ที่ยังคงมีการรักษาประเพณี วัฒนธรรมอนดีงาม และมีสิ่งแวดล้อมที่ปลอดมลพษ ซึ่งปัจจุบันเกิดแนวคิด
สิ่งแวดล้อมหลายประการ เช่น แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) แนวคิดเศรษฐกิจสีเขียว
ั
(Green Economy) แนวคิดเป้าหมายการพฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goal-SDGs)
และยังมีแนวคิดที่มีองค์กรน ามาประยุกต์ใช้เพอการพฒนา และยกระดับมาตรฐานการบริหารงาน
ื่
ั
ุ
ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมของภาคธุรกิจในอตสาหกรรมการท่องเที่ยวและจิตบริการ เช่น แนวคิด
การท่องเที่ยวสีเขียว (Green Tourism) ดังกล่าวไปแล้วในบทที่ 4 แนวคิดธุรกิจสีเขียว (Green Business)
มาตรฐานของโรงแรมเพื่อโลกสวย (โรงแรมใบไม้เขียว) และแนวคิดมาตรฐานการเดินทางและการท่องเที่ยว
อย่างยืน รับผิดชอบและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (Global Sustainable Tourism Councils-GSTC) ซึ่งแนวคิด
เหล่านี้ล้วนมีพื้นฐานจากแนวคิดการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนทั้งสิ้น
7.1 เป้าหมายการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (Sustainable Development Goal-SDGs)
เมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2558 สมัชชาใหญ่แหงสหประชาชาติ (United Nations General
Assembly) ไดมีมติรับรองเปาหมายแหงการพัฒนาของโลกชุดใหมที่มหานครนิวยอรค ซึ่งมีชื่อวาเปาหมาย
การพฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) ซึ่งไดมาแทนเปาหมายการพฒนา
ั
ั
แหงสหัสวรรษ (Millennium Development Goals: MDGs) โดย SDGs เปนเปาหมายของการพฒนา
ั
ตั้งแต ค.ศ. 2015-2030 โดยมีการตั้งเปาไวถึง 17 เปาหมายดวยกัน ซึ่งครอบคลุมทั้งดานสังคม (People)
เศรษฐกิจ โดยประเทศไทยในฐานะหนึ่งในประเทศสมาชิกสหประชาชาติ (United Nations: UN) ไดลงนาม
และมีค ามั่นรวมมือกับประเทศตาง ๆ ในการน าเปาหมายดังกลาวไปปรับใช โดยมีเป้าหมายอยู่ 17 เป้าหมาย
ดังนี้
Goal 1: No Poverty
ื้
เป้าหมายที่ 1: ขจัดความยากจนทุกรูปแบบในทุกพนที่ (End poverty in all its forms
everywhere) เป็นเป้าหมายที่ว่าด้วยการลดความยากจนทั้งทางเศรษฐกิจ และความยากจนในมิติ
ื่
อน ๆ ด้วย (ตามการนิยามของแต่ละประเทศ) ครอบคลุมคนทุกกลุ่ม ทั้งชาย หญิง เด็ก คนยากจน
และกลุ่มคนเปราะบาง
Goal 2: Zero Hunger
เป้าหมายที่ 2: ยุติความหิวโหย บรรลุความมั่นคงทางอาหาร และยกระดับโภชนาการ และ
ส่งเสริมเกษตรกรรมที่ยั่งยืน (End hunger, achieve food security and improved nutrition
and promote sustainable agriculture) มีเป็นประเด็นที่ครอบคลุมประเด็นต่าง ๆ ตั้งแต่การเข้าถึง
อาหารปลอดภัยและมีโภชนาการ