Page 134 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 134

บทที่ 7 แนวคิดสิ่งแวดล้อมในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและจิตบริการ    123





                            7.1.1 SDGs กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
                             ประเด็นเกี่ยวกับการพฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนถูกกล่าวถึงในเป้าหมายที่ 12: สร้างหลักประกัน
                                              ั
                     ให้มีรูปแบบการผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืน (Ensure sustainable consumption and production

                                                                                                  ั
                                                       ั
                     patterns) โดยอยู่ในข้อย่อยที่ 12.b (พฒนาเครื่องมือในการประเมินผลกระทบของการพฒนาที่ยั่งยืน
                     ต่อการท่องเที่ยวที่น ามาสู่การจ้างงานและส่งเสริมวัฒนธรรมและผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น) จากการวิจัยของ
                                                      ิ
                     สุพจน์ ชุณหโชติอนันต์ และธิตา อ่อนอนทร์ (2560) เรื่อง “ส ารวจสถานะของเป้าหมายการพฒนาที่ยั่งยืน
                                                                                                  ั
                     ในบริบทประเทศไทย และทางเลือกมาตรการ ทางเศรษฐศาสตร์ สังคม และกฎหมาย” เป้าหมายที่ 12
                     ได้กล่าวถึงผลการวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนไว้ดังต่อไปนี้

                             ประเทศไทยโดยกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ซึ่งมีหน่วยงานภายใต้การก ากับดูแลด าเนินงาน
                     เกี่ยวกับการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนมาอยู่ก่อนแล้ว ได้รับเอาแนวคิดจาก UNWTO รวมทั้งเป้าหมาย
                          ั
                     การพฒนาที่ยั่งยืน หรือ SDGs ในเรื่องการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนเข้ามารวมไว้ในนโยบายการท่องเที่ยว
                                                            ั
                     ของประเทศจนถึงฉบับล่าสุดคือ (ร่าง) แผนพฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2560-2564)
                     ซึ่งคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบหลักการ ตามที่กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา (กก.) เสนอเมื่อวันที่
                     4 ตุลาคม พ.ศ. 2559 โดยแผนฯ มีความสอดคล้องกับการพัฒนาประเทศระยะยาว ตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติ
                                                                                    ั
                     (พ.ศ. 2560-2579) และเน้น 5 ยุทธศาสตร์ โดยยุทธศาสตร์ที่ 1 คือ การพฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยว
                                                                                                 ั
                     สินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยวให้เกิดความสมดุลและยั่งยืน และยุทธศาสตร์ที่ 3 การพฒนาบุคลากร
                     ด้านการท่องเที่ยว และสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาการ ท่องเที่ยวมีความเกี่ยวข้อง
                     โดยตรงกับเป้าประสงค์นี้ แผนพฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 2 นั้นอยู่บนหลักการของกับเรื่อง
                                                 ั
                     การท่องเที่ยวที่ยังยืน ซึ่งสอดคล้องกับ แผนพฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-
                                                            ั
                                                                                             ั
                                          ั
                                               ุ
                     2564) ซึ่งส่งเสริมการพฒนาอตสาหกรรมท่องเที่ยวให้เติบโตอย่างสมดุลและยั่งยืน อนเป็นการสะท้อน
                     ให้เห็นถึงความพยายามของประเทศในการด าเนินงานตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติ
                             เมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2560 คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยว
                     โดยชุมชนอย่างยั่งยืน พ.ศ. 2559-2563 (Community Based Tourism: CBT Thailand) ตามที่กระทรวง

                     การท่องเที่ยวและกีฬา (กก.) เสนอ และมอบหมายหน่วยงานต่าง ๆ ด าเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป
                     และเมื่อแผนยุทธศาสตร์ชาติประกาศใช้แล้ว ให้คณะกรรมการพจารณาปรับปรุงแผนยุทธศาสตร์ฯ
                                                                               ิ
                     ให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติแล้วเสนอ คณะรัฐมนตรีทราบต่อไป แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยว

                                           ื่
                                               ิ่
                     โดยชุมชนมีเป้าหมายเพอเพมศักยภาพของทรัพยากร มนุษย์ในชุมชนให้มีความรู้ และเพมทักษะ
                                                                                                     ิ่
                     ความสามารถในการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนได้อย่างยั่งยืน ตามแนวคิดของการจัดการท่องเที่ยว
                                                 ี
                                                            ื่
                                                                ิ่
                     โดยชุมชนบนฐานของความพอเพยง รวมทั้งเพอเพมคุณค่าและมูลค่าของต้นทุน ทรัพยากรการท่องเที่ยว
                     ทรัพยากรชุมชนอนจะท าให้เกิดการยกระดับความส าคัญของชุมชนในสังคม เพอเพมจ านวนชุมชนที่มี
                                                                                             ิ่
                                                                                         ื่
                                     ั
                     การจัดการ การท่องเที่ยวโดยชุมชนที่มีมาตรฐานคุณภาพภายใต้ขีดความสามารถของการรองรับ
                                    ื่
                                        ิ่
                     ของชุมชน และเพอเพมจ านวนเครือข่ายและความเข้มแข็งของเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชน องค์การ
                     พัฒนาพื้นที่พิเศษ (อพท.) มีเป้าหมายในการสร้างต้นแบบของการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนเพื่อขยาย
                                                                                                  ื้
                                                                                             ั
                                 ื่
                             ื้
                     ผลไปยังพนที่อน พฒนาระบบบริหารจัดการการท่องเที่ยวที่น าไปสู่ความยั่งยืน รวมทั้งพฒนาพนที่ท่องเที่ยว
                                     ั
                     ตามเกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลก (Global Sustainable Tourism Criteria: GSTC) ของสภาการ
                     ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลก (Global Sustainable Tourism Council: GSTC) นอกจากนั้น อพท. ยังได้
                     ด าเนินงานเผยแพร่ข้อมูล รวมทั้งองค์ความรู้ผ่านการจัดท าคู่มือจ านวนหนึ่ง เช่น แหล่งท่องเที่ยวคาร์บอนต่ า
                                                                 ื่
                     และการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน หน่วยงานในภาคส่วนอน ๆ ที่ท างานเกี่ยวกับการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ได้แก่
   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139