Page 135 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 135
บทที่ 7 แนวคิดสิ่งแวดล้อมในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและจิตบริการ 124
สมาคมที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว เช่น สมาคมโรงแรมไทย สมาคมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และผจญภัย
ั
เป็นต้น รวมทั้งองค์กรพฒนาเอกชน เช่น มูลนิธิใบไม้เขียว ผู้ประเมินให้สัญลักษณ์ใบไม้เขียวแก่ที่พกซึ่งได้
ั
มาตรฐานการดูแลสิ่งแวดล้อม และสถาบันการท่องเที่ยวโดยชุมชน (ประเทศไทย) ซึ่งตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.
ื่
2550 เพอประสานงานและพฒนาการท่องเที่ยว โดยชุมชนที่มีอยู่โดยทั่วไปในประเทศไทย ในส่วนของ
ั
ภาคธุรกิจเอง มีความก้าวหน้าในประเด็นการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนมากขึ้นในระยะที่ผ่านมา ทั้งในองค์กร
ขนาดใหญ่ เช่น โรงแรมและรีสอร์ท รวมทั้งการพฒนาธุรกิจที่ส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืน
ั
รูปแบบใหม่ เป็นกิจการเพื่อสังคม เช่น Local Alike, Trawell, และ Hivester เป็นต้น
7.1.2 ช่องว่างในการด าเนินงานของการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนตามเป้าหมาย SDGs
อพท. มีส่วนส าคัญในการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ดังกล่าวให้เป็นไปตามแผนงาน และโครงการ
ที่ได้วางไว้ เพอให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ในปี พ.ศ. 2563 เนื่องจากมีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญ
ื่
มากกว่าหน่วยงานอน ๆ ในกระทรวงฯ อย่างไรก็ตาม อพท. เอง ไม่มีก าลังบุคลากร และงบประมาณ
ื่
เพยงพอที่จะด าเนินงานเองได้ทั้งหมด จึงเห็นว่ายังต้องรอดูต่อไปว่าจะมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
ี
การท างานตามยุทธศาสตร์อย่างไรในอนาคตอนใกล้ การสนับสนุนให้เกิดโรงแรมสีเขียว Green Hotel ต่าง ๆ
ั
โดยเฉพาะการจัดท ามาตรฐานโฮมสเตย์มีค่าใช้จ่ายในการเข้าร่วมโครงการ แต่การติดฉลากสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ
ของโรงแรมและโฮมสเตย์ใม่ดึงดูดลูกค้ามากพอ และความต่อเนื่องของการปฏิบัติตามมาตรฐานของโรงแรม
ี
ยังเป็นอกหนึ่งปัญหามีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับความสามารถในการรองรับ (Carrying Capacity) ของพนที่
ื้
ื้
ท่องเที่ยวในประเทศไทยอยู่จ านวนหนึ่ง โดยใช้หลักการค านวณจากทรัพยากรที่มีอยู่ และอตราการฟนฟ ู
ั
ของธรรมชาติต่อจ านวนนักท่องเที่ยวที่พื้นที่สามารถรองรับได้ในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ เมื่อได้ผลลัพธ์ออกมาแล้ว
ควรน าไปปรับใช้กับนโยบายการท่องเที่ยว ซึ่งค่าความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยวนี้ สามารถใช้
ั
ในการวางแผนพฒนาการท่องเที่ยวร่วมกับข้อมูลอน ๆ ซึ่งอาจจะท าให้ลดการรับนักท่องเที่ยวลงน้อย
ื่
กว่าเดิม แต่สามารถใช้นวัตกรรมเพอพฒนาผลิตภัณฑ์และบริการทางการท่องเที่ยวให้เกิดมูลค่าสูงขึ้น
ื่
ั
ทดแทนรายได้ส่วนที่ลดลงจากจ านวนนักท่องเที่ยวที่ลดลง โดยปรับราคาให้สูงขึ้นตามมูลค่าเพมที่สร้างได้
ิ่
เพื่อให้เกิดการท่องเที่ยวที่ยั่งยืนกับชุมชนและประเทศชาติ
7.2 แนวคิดธุรกิจสีเขียว (Green Business)
ธุรกิจสีเขียว (Green Business) ถูกจัดตั้งขึ้นเมื่อปลายศตวรรษที่ 20 แนวคิดธุรกิจสีเขียวเกิดจาก
การตื่นตัวของการพฒนาทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน พร้อมทั้งลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมจากการประกอบ
ั
ธุรกิจ ในช่วงกลางทศวรรษที่ 1960 มีการปรับตัวของการประกอบธุรกิจให้เข้ากับแนวโน้ม "Greening"
และน าอดมการณ์นี้มาใช้ในการปฏิบัติท าให้เกิดค าว่า "ธุรกิจสีเขียว" ส าหรับแนวทางการด าเนินธุรกิจ
ุ
สีเขียวยังไม่ได้รับการยอมรับจากผู้ประกอบการทั่วโลก เนื่องจากขาดความเข้าใจในการด าเนินงาน เนื่องด้วย
ผู้ประกอบการบางรายก็มองว่าเป็นภาระและยุ่งยากในการปฏิบัติ (Cekanavicius, Bazyte and
Dicmonaite, 2014) แต่ในปัจจุบัน สังคมโลกมีแนวโน้มให้ความสนใจในเรื่องของการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
และใส่ใจเกี่ยวกับชุมชนมากขึ้น ท าให้เกิดกระแสในการด าเนินธุรกิจหรือสร้างกิจกรรมที่เป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม ส่งผลให้เกิดธุรกิจหรือกิจกรรมที่เน้นเรื่องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมมากขึ้น
้
จากค ากล่าวของ คมศักดิ์ สว่างไสว (2558) (อางองใน ศูนย์วิจัยนโยบายด้านเศรษฐกิจสีเขียว,
ิ
2016) นักวิจัยอิสระที่กล่าวถึง “ธุรกิจสีเขียว (Green Business)” ว่า ในปัจจุบันยังไม่มการนิยามความหมาย
ี
ที่ชัดเจนของค าว่าธุรกิจสีเขียว โดยความหมายส่วนใหญ่จะถูกตีความไว้ว่า การท่องเที่ยวที่ค านึงถึง
ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม การสร้างธุรกิจสีเขียวนอกจากจะค านึงถึงสิ่งแวดล้อมและสังคมแล้ว