Page 14 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 14
บทที่ 1 กระบวนทัศน์ของการพัฒนาอย่างยั่งยืน 3
บทที่ 1
กระบวนทัศน์ของการพัฒนาอย่างยั่งยืน
(Sustainable Development Paradigm)
บทน า
ั
นับเป็นเวลากว่าสามทศวรรษที่ค าว่า “การพฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development)”
เข้ามามีบทบาทส าคัญกับการด าเนินชีวิตของคนในสังคมไทย โดยเฉพาะการประชุมครั้งส าคัญของโลก
ในปี ค.ศ. 1992 ณ เมือง Rio de Janeiro ประเทศบราซิล ท าให้เกิดจุดเปลี่ยนที่ท าให้เกิดการท่องเที่ยว
ั
อย่างยั่งยืน ซึ่งมีรากฐานมาจากการพฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Tourism) ในบทนี้จะมุ่งสร้าง
ความเข้าใจถึงที่มาที่ไปของการพฒนาอย่างยั่งยืน แนวคิด หลักการ รวมถึงกระบวนทัศน์ใหม่ของการ
ั
พัฒนาอย่างยั่งยืน อันจะเป็นแนวทางที่น าไปสู่ความเข้าใจบริบทของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในบทต่อไป
ดังนั้น เนื้อหาในบทนี้จึงเริ่มจาการท าความเข้าใจถึงที่มาของแนวคิดการพฒนาอย่างยั่งยืน นั่นคือ
ั
การเกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นภาวะโลกร้อน (Global Warming) ปัญหามลภาวะผ
ั
ทางอากาศ ปัญหาขยะมูลฝอย ปัญหาน้ าเสีย และปัญหาการตัดไม้ท าลายป่า อนเป็นผลมาจากจ านวน
ิ่
ประชากรโลกที่เพมขึ้น รวมทั้งความเติบโตทางด้านเศรษฐกิจและเทคโนโลยี ที่กระตุ้นให้ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ขยายวงกว้างอย่างรวดเร็ว น าไปสู่แนวคิดของการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรร่วมกัน
ในส่วนที่สองของบทนี้ จะเป็นการอธิบายแนวคิดอย่างยั่งยืน ทั้งในระดับสากล และปรัชญา
ั
ั
การพฒนาอย่างยั่งยืนในบริบทของสังคมไทย ซึ่งมีการปรับใช้แนวคิดการพฒนาอย่างยั่งยืนกับวิถีความ
ั
ี
ั
เป็นไทย เช่น การพฒนาอย่างยั่งยืนกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยง การพฒนาอย่างยั่งยืนเชิงพทธศาสตร์
ุ
ื่
ทั้งนี้เพอให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจถึงหลักการ และการน าไปใช้ให้เหมาะสมกับสภาพสังคมและวัฒนธรรม
ของแต่ละพื้นที่
ั
ในส่วนสุดท้ายของบท จะเป็นอธิบายแนวทางการพฒนาอย่างยั่งยืนกับวิธีการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
โดยมุ่งให้ผู้เรียนเห็นจุดสมดุลของการพฒนาและการอนุรักษ์ที่ต้องเกิดขึ้นควบคู่กัน การพฒนาเพยง
ั
ี
ั
อย่างเดียวโดยไม่ค านึงทรัพยากรก็อาจท าให้เกิดการท าลาย หากแต่การอนุรักษ์แต่เพยงอย่างเดียว
ี
ั
ก็ไม่สามารถสร้างคุณประโยชน์หรือมูลค่าทางเศรษฐกิจได้ การพฒนาที่ควบคู่ไปพร้อมกับการอนุรักษ์
อย่างพอเหมาะพอดี จึงเป็นแนวทางน าไปสู่วิถีทางของการพัฒนาอย่างยั่งยืนอย่างแท้จริง
1.1 ปัญหาสิ่งแวดล้อม (Environmental Problem)
ิ
ปัจจัยส าคัญ ๆ 5 ประการ ที่มีอทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต ได้แก่
1) การเปลี่ยนแปลงตามกระแสโลกาภิวัตน์ (Globalization) 2) การเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างประชากร
ของโลก (Structure of Population) 3) การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภคกลุ่มใหม่ (Emerging of
Demand and Behavior) 4) ปัญหาเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (Natural and
ื่
Environmental Issues) และ 5) แนวโน้มการวางระเบียบกฎเกณฑ์ และการเรียกร้องเพอปกป้องผลประโยชน์
ระหว่างชาติ (New World Order and Regulations) ซึ่งหากขาดการบูรณาการแล้ว อนาคตของมนุษยชาติ
จะด ารงชีวิตอยู่รอดในระยะยาวไม่ได้
ประเด็นเรื่องสิ่งแวดล้อม เป็นเรื่องที่นานนาประเทศต่างเห็นพองกันว่า โลกก าลังประสบกับปัญหา
้
ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรมากขึ้นทุกขณะ คุณภาพของน้ าเสื่อมถอยลงอย่างเห็นได้ชัด ความร้อนและ