Page 18 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 18
บทที่ 1 กระบวนทัศน์ของการพัฒนาอย่างยั่งยืน 7
ทางประชากร (Population Pressures) ได้แก่ ปัญหาการเมือง ปัญหาทางเศรษฐกิจ ปัญหาทางสังคม
คนว่างงาน รายได้ต่ า ไม่มีที่อยู่อาศัย ไม่มีการศึกษา และปัญหาอื่น ๆ อีกมากมาย
2) การขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่อย่างจ ากัด เช่น ที่ดิน แร่ธาตุ เริ่มไม่เพยงพอที่จะ
ี
สนองความต้องการของประชากรที่เพิ่มจ านวนขึ้นตลอดเวลา ในขณะเดียวกัน ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจ ากัด
ดังกล่าวยังเสื่อมสภาพลงเป็นล าดับ เช่น ดินเสื่อมคุณภาพ ป่าถูกท าลาย น้ าเสีย เป็นเหตุให้ประสิทธิภาพ
ในการใช้ลดลง ทรัพยากรที่เคยถือว่ามีอยู่อย่างไม่จ ากัด เช่น ทรัพยากรน้ าเริ่มขาดแคลน และเป็นปัญหา
ความขาดแคลนทรัพยากรดังกล่าวท าให้เกิดการเอารัดเอาเปรียบ แก่งแย่งกันในการด ารงชีวิต จนเมื่อ
ปัญหามีความรุนแรงขึ้นมาก ๆ เป็นเหตุให้เกิดปัญหาด้านอาชญากรรมต่อไปได้
3) การขาดความตระหนักรู้ถึงคุณค่าทรัพยากร เกิดจากการขาดการศึกษา หรือการเผยแพร่
ความรู้เพอสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องต่อคุณค่าทรัพยากร ท าให้ขาดความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
ื่
ื่
เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง เพอสนองตอบแต่ความต้องการของตนเอง เป็นเหตุให้ทรัพยากร
ถูกท าลายลงอย่างรวดเร็ว โดยไม่รู้คุณค่า
ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เป็นประเด็นส าคัญที่โลกก าลังเผชิญอยู่ ณ ปัจจุบัน ได้แก ่
1.1.1 ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
ในช่วง 100 ปีที่ผ่านมา นับถึง พ.ศ. 2548 อากาศใกล้ผิวดินทั่วโลกโดยเฉลี่ยมีค่าสูงขึ้น 0.74 ±
0.18 องศาเซลเซียส ซึ่งคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
(Intergovernmental Panel on Climate Change: IPCC) ของสหประชาชาติได้สรุปไว้ว่า “จากการ
ิ่
สังเกตการณ์การเพมอณหภูมิโดยเฉลี่ยของโลกที่เกิดขึ้นตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ประมาณตั้งแต่
ุ
ิ่
พ.ศ. 2490) ค่อนข้างแน่ชัดว่าเกิดจากการเพมความเข้มของแก๊สเรือนกระจกที่เกิดขึ้นโดยกิจกรรมของ
มนุษย์ที่เป็นผลในรูปของปรากฏการณ์เรือนกระจก”
สาเหตุที่ท าให้เกิดภาวะโลกร้อนก็เพราะว่าก๊าซเรือนกระจกที่เพิ่มขึ้นจากการท ากิจกรรมต่าง ๆของ
มนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นการเผาผลาญถ่านหินและเชื้อเพลิง รวมไปถึงสารเคมที่มีส่วนผสมของก๊าซเรือนกระจกที่
ี
ื่
ี
มนุษย์ใช้ และอน ๆ อกมากมาย จึงท าให้ก๊าซเรือนกระจกเหล่านี้ลอยขึ้นไปรวมตัวกันอยู่บนชั้นบรรยากาศ
ของโลก ท าให้รังสีของดวงอาทิตย์ที่ควรจะสะท้อนกลับออกไปในปริมาณที่เหมาะสม กลับถูกก๊าซเรือนกระจก
เหล่านี้กักเก็บไว้ ท าให้อุณหภูมิของโลกค่อย ๆ สูงขึ้นจากเดิม ผลกระทบของภาวะโลกร้อนนั้นก็มีให้เราเห็น
้
กันอยู่บ่อย ๆ สภาพลมฟาอากาศที่ผิดแปลกไปจากเดิม ภัยธรรมชาติที่รุนแรงมากขึ้น น้ าท่วม แผ่นดินไหว
พายุที่รุนแรง อากาศที่ร้อนผิดปกติจนมีคนเสียชีวิต รวมไปถึงโรคระบาดชนิดใหม่ ๆ หรือโรคระบาด
ที่เคยหายไปจากโลกนี้แล้วก็กลับมาให้เราได้เห็นใหม่ และพาหะน าโรคที่เพิ่มจ านวนมากขึ้น
1.1.2 ปัญหามลภาวะทางอากาศ (Air Pollution)
มลภาวะทางอากาศ หมายถึง สภาพอากาศที่มีสาร (Airborne Substances) ซึ่งมีความเข้มข้นสูง
ื
กว่าปกติ และแขวนลอยในบรรยากาศนานพอที่จะท าให้เกิดผลเสียหายต่อสุขภาพอนามัยของคน สัตว์ พช
หรือวัสดุต่าง ๆ สารในที่นี้หมายถึงธาตุ หรือสารประกอบซึ่งอาจเกิดตามธรรมชาติ หรือจากการกระท า
ของคน สารพวกนี้ลอยปะปนอยู่ในรูปก๊าซหยดของเหลวหรืออนุภาคของแข็ง โดยมากจะอยู่ในรูปก๊าซ
บางชนิด ฝุ่นละออง กลิ่นควันเขม่า และกัมมันตภาพรังสี เช่น ออกไซด์ของคาร์บอนออกไซด์ของก ามะถัน
ออกไซด์ของไนโตรเจนไฮโดรคาร์บอน สารปรอท ตะกั่ว ละอองกัมมันตภาพรังสี เป็นต้น สิ่งเหล่านี้หากมี
เจือปนอยู่ในอากาศมากเกินอันตรายก็จะเกิดเป็นมลพิษทางอากาศ